โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนวลศรี มณีแสง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนแหล่งพระราม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
สิงหาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-21 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศสาเหตุของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของวัยผู้ใหญ่ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง (โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและโรคหอบหืด) โรคต่างๆ ดังกล่าว มักมีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงร่วมหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า ได้แก่ การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตามหลักโภชนาการ การขาดการออกกำลังกาย และ ความเครียด ฯลฯ
สถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่ ปี 2559พบ ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวนทั้งสิ้น759คน จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 38 รายประชากรกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองจำนวนทั้งสิ้น 385 รายกลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน 37 ราย สงสัยเป็นโรค(SBP≥140mmHgหรือ DBP≥90 mmHg )จากการคัดกรองจำนวนทั้งสิ้น 3 รายพบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวนทั้งสิ้น 453 คน จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 113 ราย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 22 ราย สาเหตุของปัญหาการเจ็บป่วยส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ได้ปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2ส.
จากปัญหาที่กล่าวชุมชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาจึงได้จัดโครงการนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ
- 2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
170
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนทั้ง 6 แห่งมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และ อัตราการเกิดโรครายใหม่ในพื้นที่รับผิดชอบลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ
3.1 ประชุมชี้แจงแกนนำ ทีมทำงานในชุมชน 6 แห่ง จำนวน 2 ครั้ง
3.2 จัดกิจกรรมบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในชุมชน 6 แห่ง โดยตรวจสุขภาพโดยแกนนำสาธารณสุขในชุมชน (2 ครั้ง)
3.3 กิจกรรมรวมกลุ่มออกกำลังกายกลุ่มเสี่ยงต่อเนื่องในชุมชนจำนวน 6 ชุมชน(3 ครั้ง)
สรุปการใช้งบประมาณ
5.1 งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 43,500 บาท
5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 43,500 บาท
1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 37,200 บาท
2. ค่าวัสดุ จัดทำป้าย สื่อความรู้ เอกสารรูปเล่ม จำนวน 6,300 บาท
รวม 43,500 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ
ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนที่เกิดโรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ5 และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่
น้อยกว่าร้อยละ 10
2
2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากกว่าร้อยละ 80
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
170
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
170
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางนวลศรี มณีแสง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนแหล่งพระราม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางนวลศรี มณีแสง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนแหล่งพระราม
สิงหาคม 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-21 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-21 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 43,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคเรื้อรังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศสาเหตุของการเจ็บป่วยและการเสียชีวิตของวัยผู้ใหญ่ โรคไม่ติดต่อ เรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคมะเร็ง โรคเบาหวาน และโรคระบบทางเดินหายใจเรื้อรัง (โรคปอดอุดกั้นเรื้อรังและโรคหอบหืด) โรคต่างๆ ดังกล่าว มักมีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงร่วมหนึ่งปัจจัยหรือมากกว่า ได้แก่ การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสมตามหลักโภชนาการ การขาดการออกกำลังกาย และ ความเครียด ฯลฯ สถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่ ปี 2559พบ ผู้ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวนทั้งสิ้น759คน จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ 38 รายประชากรกลุ่มเสี่ยงความดันโลหิตสูงจากการคัดกรองจำนวนทั้งสิ้น 385 รายกลุ่มเสี่ยงสูงจำนวน 37 ราย สงสัยเป็นโรค(SBP≥140mmHgหรือ DBP≥90 mmHg )จากการคัดกรองจำนวนทั้งสิ้น 3 รายพบผู้ป่วยโรคเบาหวานจำนวนทั้งสิ้น 453 คน จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน 113 ราย ผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ 22 ราย สาเหตุของปัญหาการเจ็บป่วยส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพ ที่ไม่ได้ปฏิบัติตามหลัก 3 อ. 2ส. จากปัญหาที่กล่าวชุมชนในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลาจึงได้จัดโครงการนี้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ
- 2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 170 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในชุมชนทั้ง 6 แห่งมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม และ อัตราการเกิดโรครายใหม่ในพื้นที่รับผิดชอบลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ 3.1 ประชุมชี้แจงแกนนำ ทีมทำงานในชุมชน 6 แห่ง จำนวน 2 ครั้ง
3.2 จัดกิจกรรมบูรณาการแบบมีส่วนร่วมในชุมชน 6 แห่ง โดยตรวจสุขภาพโดยแกนนำสาธารณสุขในชุมชน (2 ครั้ง) 3.3 กิจกรรมรวมกลุ่มออกกำลังกายกลุ่มเสี่ยงต่อเนื่องในชุมชนจำนวน 6 ชุมชน(3 ครั้ง)สรุปการใช้งบประมาณ 5.1 งบประมาณ ที่ได้รับจัดสรร จำนวนทั้งสิ้น 43,500 บาท 5.2 งบประมาณที่ใช้จริง จำนวนทั้งสิ้น 43,500 บาท 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 37,200 บาท 2. ค่าวัสดุ จัดทำป้าย สื่อความรู้ เอกสารรูปเล่ม จำนวน 6,300 บาท รวม 43,500 บาท
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด : 1. อัตราผู้ป่วยรายใหม่ในชุมชนที่เกิดโรคเบาหวานน้อยกว่าร้อยละ5 และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ น้อยกว่าร้อยละ 10 |
|
|||
2 | 2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส. ตัวชี้วัด : 2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่เข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมากกว่าร้อยละ 80 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 170 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 170 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อควบคุมอัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงในพื้นที่รับผิดชอบ (2) 2. เพื่อให้ประชาชนที่มีความเสี่ยงเข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามหลัก 3 อ. 2 ส.
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังในชุมชน เขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชนสมิหลา ประจำปี 2560 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60-L7250-2-21
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางนวลศรี มณีแสง ประธานอาสาสมัครสาธารณสุขชุมชนแหล่งพระราม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......