กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม


“ โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ ”

อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ที่อยู่ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3027-02-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้อสม. (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ (3) ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1 (4) ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3 (5) ติดตามกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (6) สรุปและประเมินโครงการ ฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องให้โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องทุกปี

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน พบปัญหาอัตราการเกิดและการมีชีวิตอยู่รอดของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ ระดับประเทศตั้งเป้าหมาย ไม่เกินร้อยละ 5 แต่พบว่าในพื้นที่จังหวัดชายแดนอยู่ที่ ร้อยละ 15 พบว่ามีค่าที่เกิดอยู่ 3 เท่า ขณะที่องค์การอนามัยโลกกำหนดอยู่ที่ร้อยละ 2.5 นับเป็นจุดตั้งต้นที่สำคัญของการทำงานด้านสาธารณสุข ดังนั้นงานอนามัยของแม่และเด็กของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ จึงเป็นตัวบ่งชี้สภาวะสุขภาพที่มักถูกหยิบยกขึ้นเป็นตัวสะท้อนการพัฒนาด้านสุขภาพของประเทศอยู่เสมอ เพราะส่วนหนึ่ง การเสียชีวิตของแม่ที่คลอดบุตรเป็นตัวบ่งบอกความเป็นอยู่ของแม่และเด็ก ของหญิงตั้งครรภ์รายใหม่และการเข้าถึงบริการด้าน สุขภาพ รวมถึงความเพียงพอของสถานบริการด้านสุขภาพด้วย สถานการณ์งานอนามัยแม่และเด็กในเขตพื้นที่ภาคใต้ปี 2559 โดยเฉพาะใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ยังมีความน่าเป็นห่วง เข้าขั้นวิกฤตอยู่มาก เหตุเพราะอัตราส่วนการตายของมารดายังเป็นปัญหาสาธารณสุขในระดับพื้นที่มาอย่างต่อเนื่อง โดยพบสูงสุด ใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ได้แก่ ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส คิดเป็นร้อยละ 82.81, 67.43 และ 63.93 ต่อแสนคนในการเกิดมี ชีวิต ตามลำดับ (เกณฑ์มาตรฐาน ไม่ควรเกิน ร้อยละ 5 ต่อแสนคนในการเกิดมีชีวิต) นอกจากนี้ ยังพบว่า มารดาขาดสารอาหาร และมีภาวะซีดในขณะตั้งครรภ์ โดยในปี 2556 ภาพรวมของประเทศ พบว่า มารดาที่มีภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์ คิดเป็นร้อยละ 17.1 โดยพบสูงสุดที่จังหวัดปัตตานี ร้อยละ 98.4 รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 17.2 และยะลา 16.1 ตามลำดับ (เป้าหมายที่กำหนด ไม่ควรเกินร้อยละ 10) ส่งผลต่อทารกแรกคลอด อาจทำให้เกิดการ คลอดก่อนกำหนดและคลอดมาแล้วน้ำหนักน้อย ส่วนสถานการณ์ทารกแรกคลอดในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ พบว่า ยังมีทารกจำนวนมากที่มีน้ำหนักแรกคลอดต่ำกว่า เกณฑ์ปกติอย่างมาก (เกณฑ์น้ำหนักแรกคลอดต้องไม่ต่ำกว่า 2,500 กรัม) ซึ่งภาพรวมของประเทศ ทารกแรกคลอดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม อยู่ที่ร้อยละ 7.8 โดยอัตราสูงสุดอยู่ที่จังหวัดยะลา ร้อยละ 9.5 รองลงมาได้แก่ นราธิวาส 7.4 และปัตตานี 6.7 ทั้งนี้ สาเหตุการเสียชีวิตส่วนใหญ่เกิดจากสาเหตุที่สามารถป้องกันได้ในบริบทของสูติศาสตร์สมัยใหม่ และมีเพียงน้อยรายที่เกิดจากเหตุ สุดวิสัย จากสถานการณ์สถิติที่น่าเป็นห่วง สะท้อนถึงปัญหางานอนามัยแม่และเด็กใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ที่ควรได้รับการ แก้ปัญหาอย่างเร่งด่วน ถึงแม้ว่าตำบลเขาตูมยังไม่พบอัตราการตายของมารดาและทารก แต่ก็มีปัจจัยเสี่ยงที่อาจส่งผลถึงความปลอดภัยของอนามัยแม่และได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้อสม.
  2. ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ
  3. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1
  4. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3
  5. ติดตามกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด
  6. สรุปและประเมินโครงการ ฯ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
สามีของหญิงตั้งครรภ์ 150

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.หญิงตั้งครรภ์มีความเข้าในในการเลือกรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ตลอดช่วงระยะเวลาการตั้งครรภ์ 2.หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการกินยาเสริมธาตุเหล็ก 3.หญิงตั้งครรภ์รู้สาเหตุที่ทำให้เกิดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ได้อย่างถูกต้อง 4.หญิงตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์ และการฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้อสม.

วันที่ 28 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เตรียมสถานที่ เตรียมวัสดุอุปกรณ์ สร้างหนังสือเชิญ ณ ห้องประชุม รพ.สต.เขาตูม 2.ประสานงานผู้เกี่ยวข้อง แจกหนังสือเชิญ แก่อสม.ตำบลเขาตูม จำนวน 138 คน 3.จัดหาผู้รับจ้างทำอาหารว่าง และอาหารกลางวัน โดยนางสาวมาดารีหย๊ะ สาแล๊ะ 4.ประชุมชี่้แจง เจ้าหน้าที่ และอสม. แจ้งบทบาทหน้าที่ พร้อมอบรมให้ความรู้อสม.เกี่ยวกับคำแนะนำหญิงตั้งครรภ์เน้นการป้องกัภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ และความสำคัญของการฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.มีผู้เข้าร่วมประชุมและอบรมให้ความรู้ จำนวน 143 คน 2.ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ที่ถูกต้องหลังดำเนินงานตามโครงการฯ จำนวน 118 คน คิดเป็นร้อยละ 82.52

 

143 0

2. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การดำเนินงานในกิจกรรมนี้มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 300 คน(หญิงตั้งครรภ์และสามี)โดยแยกเป็น 6 รุ่น ๆละ 50 คน 2.เตรียมสถานที่ อุปกรณ์  สำหรับให้ความรู้ ตามวันเวลาที่กำหนด 3.เชิญวิทยากรสำหรับให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายตามวันเวลาที่กำหนด โดยนางสาวพรรณวดี  อาแวนิ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จากทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 300 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.ข้อมูลสรุปจำนวนผู้ที่มีความรู้ถูกต้องหลังดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ จำนวน 247 คน คิดเป็นร้อยละ 82.33 3.ผลการสำรวจระดับความพึงพอใจหลังดำเนินกิจกรรม สูงสุดที่ระดับดี ให้มีการดำเนินโครงการต่อไป จำนวน 179 คน คิดเป็นร้อยละ 59.67  และความพึงพอใจเฉลียอยู่ในระดับ 2.6 หมายเหตุ 1.แบ่งระดับความพึงพอใจของโครงการออกเป็น 3 ระดับ -ปรับปรุง (1 คะแนน)  จำนวน 0 คน -เฉยๆ (2 คะแนน)      จำนวน 121 คน -ดี ให้มีการดำเนินโครงการต่อไป (3 คะแนน)  จำนวน 179 คน

 

300 0

3. ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3

วันที่ 31 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.การดำเนินงานในกิจกรรมนี้มีจำนวนกลุ่มเป้าหมายจำนวน 300 คน(หญิงตั้งครรภ์และสามี)โดยแยกเป็น 6 รุ่น ๆละ 50 คน 2.เตรียมสถานที่ อุปกรณ์  สำหรับให้ความรู้ ตามวันเวลาที่กำหนด 3.เชิญวิทยากรสำหรับให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายตามวันเวลาที่กำหนด โดยนางสาวพรรณวดี  อาแวนิ ตำแหน่ง นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.จากทะเบียนรายชื่อกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 300 คน คิดเป็นร้อยละ 100 2.ข้อมูลสรุปจำนวนผู้ที่มีความรู้ถูกต้องหลังดำเนินกิจกรรมตามโครงการฯ จำนวน 269 คน คิดเป็นร้อยละ 89.67 3.ผลการสำรวจระดับความพึงพอใจหลังดำเนินกิจกรรม สูงสุดที่ระดับดี ให้มีการดำเนินโครงการต่อไป จำนวน 204 คน คิดเป็นร้อยละ68  และความพึงพอใจเฉลียอยู่ในระดับ 2.7 หมายเหตุ 1.แบ่งระดับความพึงพอใจของโครงการออกเป็น 3 ระดับ -ปรับปรุง (1 คะแนน)  จำนวน 0 คน -เฉยๆ (2 คะแนน)      จำนวน 96 คน -ดี ให้มีการดำเนินโครงการต่อไป (3 คะแนน)  จำนวน 204 คน

 

300 0

4. ติดตามกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

วันที่ 1 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

แจ้ง อสม.ติดตาม กลุ่มเป้าหมาย ตามรายชื่อในทะเบียนหญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาซีด แยกรายหมู่บ้าน เพื่อตรวจความเข้มข้นเลือดโดยตรวจจากเจาะปลายนิ้วที่ รพ.สต. เดือนละ 1 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ทะเบียนรายชื่อหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดแยก ไตรมาศ 1 และ 3
2.ทะเบี่ยนติดตามหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีดแยกไตรมาศ 1 และ 3

 

75 0

5. ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ

วันที่ 22 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์โครงการโดยการติดป้ายไวนิล 3 จุดได้แก่ รพ.สต.เขาตูม รพ.สต.บ้านจาเราะบองอและมัสยิดบ้านโสร่ง เพื่อให้เกิดการกระตุ้นฝากครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์และฝากครรภ์ครบ 5 ครั้งตามเกณฑ์ตลอดปี

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ประชาชนเพศหญิงตำบลเข้าถึงการประชาสัมพันธ์โครงการฯผ่านป้ายไวนิล

 

3,974 0

6. สรุปและประเมินโครงการ ฯ

วันที่ 6 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ประเมินตามตัวชี้วัดของโครงการ ฯ ที่ตั้งไว้
2.วิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคของที่ขัดขวางความสำเร็จของโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จำนวนหญิงตังครรภ์ทีมีภาวะซีดจำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 11.33

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

หลังดำเนินโครงการ พบหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด จำนวน 17 คน จากหญิงตั้งครรภ์ทั้งสิ้น 150 คน คิดเป็นร้อยละ 11.33 โดยอ้างอิงจากข้อมูลใน JHCIS ช่วงวันที่ 1 ต.ค.61-26 ส.ค.62

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : พบภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 20
120.00 17.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 150 150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
สามีของหญิงตั้งครรภ์ 150 150

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมชี้แจงโครงการและให้ความรู้อสม. (2) ประชาสัมพันธ์โครงการ ฯ (3) ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 1 (4) ให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และสามี ไตรมาศที่ 3 (5) ติดตามกลุ่มเป้าหมายหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด (6) สรุปและประเมินโครงการ ฯ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ดีอย่างต่อเนื่องให้โครงการนี้เป็นโครงการต่อเนื่องทุกปี

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

รหัสโครงการ 62-L3027-02-06 ระยะเวลาโครงการ 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

ให้ความรู้หญิงตั้งครรภ์เกี่ยวกับการดูแลตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

การเลือกรับประทานอาหาร/พฤติกรรมทีดีต่อตนเอง

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการป้องกันภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3027-02-06

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด