กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก


“ โครงการอาหารดี มีประโยชน์ ”

ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
เจะรอฮีมะ แดมองโก

ชื่อโครงการ โครงการอาหารดี มีประโยชน์

ที่อยู่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-2-20 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาหารดี มีประโยชน์ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารดี มีประโยชน์



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาหารดี มีประโยชน์ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะรือโบตะวันตก อำเภอระแงะ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8302-2-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,677.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลมะรือโบตก เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

อาหารที่ดีและมีประโยชน์มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตของเด็ก แต่ในปัจจุบัน พบว่ามีเด็กจำนวนไม่น้อยที่ขาดสารอาหาร เนื่องจากบริโภคอาหารไม่ครบถ้วนทั้ง ๕ หมู่ และไม่ชอบรับประทานผักและผลไม้ อันเป็นสาเหตุทำให้เด็กๆอยู่ในภาวะ ความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ อาจก่อให้เกิดความเจ็บป่วยและขาดการพัฒนาทางด้านร่างกายและจิตใจ จากการสำรวจในโรงเรียนอนุบาลวิทยปัญญานราธิวาสเอง พบว่าเด็กนักเรียนจำนวน ๗๒ คน จากทั้งหมด ๑๕๖ อยู่ในภาวะทุพโภชนาการและมีค่า BMI (Body Mass Index) ต่ำกว่าเกณฑ์ โดยในจำนวนนี้ แบ่งเป็น นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๑ อยู่ในภาวะทุพโภชนาการ จำนวน ๑๕ คน,นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๒ อยู่ในภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๒๙ คน,นักเรียนชั้นอนุบาลปีที่ ๓ อยู่ในภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๔ คน และนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ อยู่ในภาวะทุพโภชนาการจำนวน ๑๔ คน (ข้อมูลสำรวจ ณ วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๖๑)

ด้วยเหตุนี้ ทางโรงเรียนอนุบาลวิทยปัญญานราธิวาส จึงได้จัดทำโครงการ “อาหารดี มีประโยชน์” ขึ้นเพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ และรับประทานผักและผลไม้มากขึ้น อีกทั้งช่วยลดปัญหาความเสี่ยงทางด้านสุขภาพ อันจะก่อให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บต่อตัวของเด็กนักเรียนในอนาคต

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
  2. เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้ เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์
  2. ซุปเปอร์มาร์เก็ตห้องเรียน (Classroom Supermarket)
  3. มุมอาหารน่ารู้ น่ารับประทาน
  4. กิจกรรม ตลาดนัดหนูน้อย และ กิจกรรม Little Chefs

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 156
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.นักเรียนบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ และบริโภคผักผลไม้มากขึ้น ๒.ครู ผู้ปกครอง ผู้ประกอบอาหารและเด็กนักเรียน มีความรู้ ความเข้าใจในการเลือกรับประทานอาหาร   ที่ดีและมีประโยชน์ ๓.นักเรียนมีสุขภาพพลานามัยที่ดีขึ้นจากการบริโภคอาหารที่มีประโยชน์


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. มุมอาหารน่ารู้ น่ารับประทาน

วันที่ 20 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

มุมรูปภาพผลไม้ น่ารับประทาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆมีพฤติกรรมการรับประทานผักและผลไม้มากยิ่งขึ้น

 

0 0

2. ให้ความรู้ เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์

วันที่ 22 พฤษภาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิทยากรมาบรรยายให้ความรู้อาหารหลัก 5 หมู่

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กได้รูจักอาหารที่มีประโยชน์กับตัวเอง

 

0 0

3. กิจกรรม ตลาดนัดหนูน้อย และ กิจกรรม Little Chefs

วันที่ 10 มิถุนายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดกิจกรรมตลาดหนูน้อย จำนวน 3 ครั้ง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

พฤติกรรมเด็กในการกินผัก ผลไม้ ไม่กินอาหาร คบเคี้ยว

 

0 0

4. ซุปเปอร์มาร์เก็ตห้องเรียน (Classroom Supermarket)

วันที่ 8 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จำลองตลาดนัดภายในห้องเรียนเพื่อสอนวิธีการซื้อขาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

เด็กๆมีความรู ความเข้าในในการเลื้อกซื้ออาหาร

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
44.00

 

2 เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ
ตัวชี้วัด : จำนวนเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ(คน)
14.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 156
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 156
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อแก้ปัญหาเด็กเล็ก (0-3 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ (2) เพื่อแก้ปัญหาเด็กก่อนวัยเรียน (3ขึ้นไป-6 ปี) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้ เกี่ยวกับอาหารที่มีประโยชน์ (2) ซุปเปอร์มาร์เก็ตห้องเรียน  (Classroom Supermarket) (3) มุมอาหารน่ารู้ น่ารับประทาน (4) กิจกรรม ตลาดนัดหนูน้อย และ กิจกรรม Little Chefs

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการอาหารดี มีประโยชน์ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8302-2-20

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( เจะรอฮีมะ แดมองโก )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด