กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี


“ โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ”

ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลตะโหมด

ชื่อโครงการ โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี

ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L7575-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 62-L7575-1-12 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 5,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลแม่ขรี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยสถานการณ์ในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมหันมาใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชแทนการใช้พืชที่เป็นสมุนไพรหรือใช้วิธีชีวภาพปราบศัตรูพืชกันมากขึ้น ทำให้ผู้บริโภคเกิดความไม่มั่นใจในการเลือกบริโภคอาหารประเภทผักและผลไม้ ประกอบกับจากข้อมูลของสำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ. 2554 พบว่า ประเทศไทยมีการนำเข้าสารกำจัดศัตรูพืชเพิ่มปริมาณมากขึ้นในทุกปี ซึ่งจากข้อมูลอัตราผู้ป่วยจากกลุ่มโรคสารเคมีกำจัดศัตรูพืช(Toxic effect of pesticides) ปี พ.ศ. 2553-2556 (ข้อมูล : กระทรวงสาธารณสุข) พบว่า ในปี พ.ศ. 2556 มีอัตราผู้ป่วยนอกจากกลุ่มโรคสารเคมีกำจัดศัตรูพืชเท่ากับ 12.37 ต่อประชากรกลางปีแสนคน ลดลงจากปี พ.ศ. 2555 เล็กน้อย แต่เมื่อเทียบกับอัตราผู้ป่วยนอกในปีพ.ศ. 2554 ก็ยังมีอัตราป่วยที่สูงมากกว่าเกือบเท่าตัวจะเห็นว่าข้อมูลภาวะโรคของพิษสารเคมีกำจัดศัตรูพืชอาจน้อยกว่าความเป็นจริง สาเหตุหนึ่งเนื่องจากการวินิจฉัยโรคที่ไม่ชัดเจน ผู้ป่วยอาการเรื้อรังบางรายไม่ทราบว่าการป่วย ตำบลแม่ขรีเป็นตำบลหนึ่ง ที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนาทำไร่ทำสวนผลไม้และสวนยางพาราผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง ซึ่งจากการตรวจเลือดเกษตรกร ปี 2560 มีจำนวนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 500 คน พบว่า มีผลการตรวจในระดับผิดปกติ (เสี่ยงสูง/เสี่ยง/ไม่ปลอดภัย) จำนวน 181 คน คิดเป็นร้อยละ 36.20 และปกติ จำนวน 319 คนคิดเป็นร้อยละ 63.80ทั้งนี้ ผู้มีผลการตรวจในระดับผิดปกติจะได้รับการตรวจซ้ำซึ่งจากผลการตรวจ พบว่า มีผลการตรวจในระดับผิดปกติ (เสี่ยงสูง/เสี่ยง/ไม่ปลอดภัย) จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 21.55 และปกติ จำนวน 142 คน คิดเป็นร้อยละ 78.45 และจากการสอบถามข้อมูลการบริโภคผักผลไม้ของประชาชนในพื้นที่ พบว่าประชาชนส่วนใหญ่นิยมซื้อผักที่แม่ค้านำมาขายที่ตลาด มากกว่าการปลูกผักกินเอง แต่มีประชาชนส่วนหนึ่งในพื้นที่ปลูกผักกินเอง และถ้าเหลือจากกินก็จะนำไปขายที่ตลาดใกล้บ้านจากการสอบถามผู้ปลูกผักก็ยังพบการใช้สารเคมีปราบศัตรูพืชอยู่ ดังนั้น เพื่อเป็นการยับยั้งและปลูกจิตสำนึกของเกษตรกรผู้ปลูกผักทางโรงพยาบาลตะโหมด จึงได้ทำโครงการโครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี ปีงบประมาณ 2562 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรีได้รับการตรวจสุขภาพเพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ
  2. เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยง
  3. เพื่อให้ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ตรวจหาสารเคมีตกค้าง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ทราบถึงสถานการณ์สารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในเลือดของเกษตรกรกลุ่มเสี่ยงในเทศบาลตำบลแม่ขรี 2.เพื่อจะได้นำข้อมูลมาใช้ในการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์การเฝ้าระวังและควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพของเกษตรกร 3.เกษตรกรมีความรู้ในการปลูกพืชปลอดสารพิษ และวิธีการใช้สารเคมีที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ตรวจหาสารเคมีตกค้าง

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. ประชุมวางแผนงานลงปฏิบัติในพื้นที่
  2. ประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มประชาชนกลุ่มเสี่ยงทราบ
  3. ตรวจหาสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลจากการตรวจเลือดในประชาชนกลุ่มเสี่ยง 100 คน ผลการตรวจอยู่ในระดับปกติ 20 คน ระดับปลอดภัย 59 คน ระดับมีความเสี่ยง 20 คน และไม่ปลอดภัย 1 คน

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

ผลจากการตรวจเลือดในประชาชนกลุ่มเสี่ยง 100 คน ผลการตรวจอยู่ในระดับปกติ 20 คน ระดับปลอดภัย 59 คน ระดับมีความเสี่ยง 20 คน และไม่ปลอดภัย 1 คน

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดของประชากรกลุ่มเสี่ยงที่มีผลต่อสุขภาพ (2) เพื่อเฝ้าระวังภาวะสุขภาพของประชากรกลุ่มเสี่ยง (3) เพื่อให้ในประชากรกลุ่มเสี่ยงเกิดความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ตรวจหาสารเคมีตกค้าง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการเฝ้าระวังสารพิษตกค้างในประชากรกลุ่มเสี่ยงในเขตเทศบาลตำบลแม่ขรี จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-L7575-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( โรงพยาบาลตะโหมด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด