กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่


“ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม ”

ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางอาซีซ๊ะ เหมมัน

ชื่อโครงการ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม

ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-3-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 2 มกราคม 2562 ถึง 20 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม



บทคัดย่อ

โครงการ " อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-3-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 2 มกราคม 2562 - 20 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 116,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาคนให้มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจ ให้มีความสามารถ ในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตามศักยภาพเป็นสิ่งสำคัญที่สุดในการพัฒนาชาติอย่างยั่งยืน แต่ปัญหา สุขภาพของประชาชนเป็นปัญหาระดับชาติที่เกิดจากการละเลยด้านโภชนาการของคนทั่วโลกรวมถึงคนไทย กลายเป็นปัญหาที่รัฐบาลต้องจัดสรรงบประมาณให้กับการบริการทางด้านสาธารณสุขเพื่อดูแลสุขภาพของ คนไทย แทนที่จะใช้ไปเพื่อพัฒนาประเทศด้านอื่นๆโภชนาการจึงเป็นเรื่องที่ผู้เกี่ยวข้องต้องร่วมมือกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาของโรงเรียน คือ เด็กบางส่วนไม่ได้รับประทานอาหารเช้า ซึ่งเป็นมื้อที่สำคัญในการ พัฒนาสมอง แต่ผู้ปกครองกลับไม่ได้ให้ความสำคัญ ซึ่งเป็นปัญหาที่กระทบกับโรงเรียนในการจัดการเรียน การสอนให้มีประสิทธิภาพ ส่วนอีกปัญหาหนึ่งของเด็กก็คือภาวะทุพโภชนาการ (เด็กอ้วน เด็กผอม) ปัญหา ดังกล่าวหากพ่อแม่สร้างสิ่งแวดล้อมต่างๆ ให้เหมาะสม สมองของเขาก็จะเติบโตและพัฒนาได้อย่างเต็มที่ ความสมบูรณ์ของสมองในช่วงนี้คือรากฐานสำคัญของชีวิตและความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ประกอบกับช่วงวัยเรียนเป็นวัยที่กำลังเจริญเติบโต มีความต้องการอาหารครบทั้ง ๕ หมู่ ทำให้เด็กมีสติปัญญาเฉลียวฉลาด  ถ้าเด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ก็จะทำให้ร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์ไม่มีอุปสรรคต่อการเรียนรู้ และการเจริญเติบโตของร่างกายเมื่อท้องอิ่ม จิตใจก็แจ่มใส เบ่งบาน พร้อมเปิดรับกับการเรียนรู้ สิ่งใหม่ ๆ การดำเนินการแก้ไขปัญหาเด็กไม่ได้รับประทานอาหารเข้าและภาวะทุพโภชนาการถือเป็นหน้าที่ของโรงเรียนที่จะต้องดำเนิการแก้ไขปัญหาซึ่งเป็นไปตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ หมวด ๑ บททั่วไปความมุ่งหมายและหลักการ มาตรา ๖ การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้ และ คุณธรรมมีจริยธรรมและ วัฒนธรรมในการดำรงชีวิตสามารถอยู่ร่มกับผู้ได้อย่างมีความสุข และสอดคล้องกับพระราชกิจจานุเบกษา ประกาศคณะอนุกรรมการและป้องกันโรคภายใต้คณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่องบริการ สาธารณสุขของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๗ กิจกรรมบริการ สาธารณสุขตามกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ตามประกาศแนบท้าย ลงวันที่ ๒๗ มีนาคม ๒๕5๗ ข้อ ๓. กลุ่มเด็ก วัยเรียนและเยาวชนและ ระเบียบกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลนครหาดใหญ่ เรื่อง การดำเนินงาน และบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.๒๕๕๙ ข้อ๗ (๑) ผลการดำเนินโครงการฯ ประจำปึงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๑ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม พบว่า นักเรียนที่เข้าร่วมโครงการทั้งหมดจำนวน 32 คน มีความพึงพอใจในระดับมากขึ้นไป ร้อยละ 95 และนักเรียนจำนวน 27 คน มีน้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 84.37 ซึ่งนับเป็นโครงการฯ ที่สามารถแก้ปัญหาเรื่องการรับประทานอาหารเช้าและภาวะทุพโภชนาการที่เป็นประโยชน์อย่างยิ่ง
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม จึงดำเนินโครงการฯ อย่างต่อเนื่อง โดยมีการสำรวจนักเรียนที่ไม่ได้รับประทานอาหารเช้า และนักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการเพิ่มเติม พบว่าในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๒ มีนักเรียนที่จำเป็น ต้องเข้าร่วมโครงการฯ จำนวน 4๐ คน โดยมีความมุ่งหวังเพื่อช่วยให้นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มี คุณค่าทางโภชนาการและครบ ๕ หมู่ มีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน มีสมาธิ เกิดความพร้อมในการเรียนรู้ สู่การเป็นเด็กที่มีสติปัญญาฉลาดสมวัย

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโชนาการ ได้รับประทานอหารเช้าที่มีคุณภาพ ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก
  2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง “ อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส ”
  3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

เด็กก่อนวัยเรียนศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสลิม ได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร มีพัฒนาการสมวัย มีน้ำหนัก ส่วนสูง ตามเกณฑ์ มาตรฐาน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก

วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดอาหารเช้าให้กับนักเรียน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

มีการจัดอาหารเช้าที่มีประโยชน์ให้กับนักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำให้นักเรียนมีสุขภาพที่แข็งแรงมีน้ำหนักส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐาน

 

40 0

2. กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง “ อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส ”

วันที่ 22 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

ให้ความรู้แก่ผู้ปกครองกลุ่มเป้าหมาย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้ปกครองได้รับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับประโยชน์ของอาหารเช้า

 

10 0

3. กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

วันที่ 22 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำรูปเล่นรายงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการอิ่มท้องสมองใส

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโชนาการ ได้รับประทานอหารเช้าที่มีคุณภาพ ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัด นักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหาร และมีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ ๑๐๐ ตัวชี้วัด : นักเรียนที่ที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน 4๐ คน มีน้ำหนัก ส่วนสูงตามเกณฑ์ มาตรฐานร้อยละ ๙๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 40
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด  ๑. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีคุณค่าทางสารอาหารครบ ๕ หมู่ และมีพัฒนาการสมวัย    ๒. เพื่อส่งเสริมสุขภาพนักเรียนที่มีปัญหาภาวะทุพโชนาการ ได้รับประทานอหารเช้าที่มีคุณภาพ  ๓. เพื่อให้ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมายมองเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารเช้า

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) การแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก (2) กิจกรรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองของนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย เรื่อง “ อาหารมื้อเช้าสำคัญ สมองใส ” (3) กิจกรรมสรุปผลการดำเนินงาน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม

รหัสโครงการ 62-L7258-3-03 ระยะเวลาโครงการ 2 มกราคม 2562 - 20 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

มีการพัฒนารูปแบบการจัดเตรียมอาหารให้เหมาะกับนักเรียนมากขึ้นเพิ่มจำนวนผักที่หลากหลายมากขึ้น

ภาพอาหารเช้า

จัดกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

มีการจัดอาหารเป็นรูปการ์ตูนเพื่อดึงดูดให้นักเรียนรับประทานอาหารได้มากขึ้น

ภาพอาหารเช้า

เพิ่มจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

จากการชั่งน้ำหนักเด็กทุก 3 เดือนปรับให้มีการชั่งน้ำหนักทุก 1 เดือนเพื่อทราบผลการเปลี่ยนแปลงของนักเรียน

ตารางภาวะทุโภชนาการ

เพิ่มจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

มีการปรับอาหารเช้าให้มีคุณภาพโภชนาการครบทั้ง 5 หมู่

ภาพอาหารเช้า

จัดเตรียมอาหารที่หลากหลาย

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

เมื่อมีการปรับรูปแบบอาหารหลากหลายสีสันให้น่ารับประทานมากขึ้นนักเรียนรับประทานอาหารได้มาขึ้น

ภาพอาหารเช้า

เพิ่มจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

นักเรียนที่ไม่ชอบอาหารเช้าจะมีการให้ดูการ์ตูนก่อนรับประทานอาหารเช้าที่เกี่ยวกับอาหารนักเรียนเกิดความอยากรับประทานอาหารมากขึ้น

ภาพการรับประทานอาหารเช้า

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

จากการสำรวจน้ำหนักส่วนสูงของนักเรียนทำให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงการเจริญเติบโตของเด็กนักเรียน

แบบภาวะทุพโภชนาการ

เพิ่มจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

ผู้ปกครองเห็นการเปลี่ยนแปลงของนักเรียนมีอารมณ์ และพัฒนาการด้านร่างกายที่ดีขึ้้น

แบบภาวะทุพโภชนาการ

เพิ่มจำนวนนักเรียนกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมมากขึ้น

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

นักเรียนลดการซื้อขนมกรุบกรอบและอาหารไม่มีประโยชน์

จากการสังเกตุของครูเวรประจำวัน

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

อิ่มท้องสมองใส ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมัสยิดหมัดยาเม๊าะมุสสิม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L7258-3-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอาซีซ๊ะ เหมมัน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด