กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา


“ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 ”

ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางละวิว ศรีงาม

ชื่อโครงการ โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562

ที่อยู่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5166-2-8 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลคลองหลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2562-L5166-2-8 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,220.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.คลองหลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยกำลังเผชิญกับปัญหาการกำจัดขยะที่นับวันจะทวีความรุนแรงขึ้นตลอดเวลาและยังไม่สามารถหาทางออกที่ดีได้ โดยเฉพาะในจังหวัดสงขลาเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การค้าและการท่องเที่ยว สาเหตุเนื่องมาจากการเพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยทุกปีตามอัตราการเพิ่มขึ้นของ จำนวนประชากร แม้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะพยายามหาวิธีการกำจัดและของเสียอันตรายจากบ้านเรือนเป็นปัญหาสำคัญ ครัวเรือนเป็นแหล่งกำเนิดของของเสีย อันตรายจากชุมชนประมาณ 1 ใน 4 ของทั้งหมด ซึ่งจากปัญหาขยะดังกล่าวก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน ในหลาย ๆ ด้าน หากวิธีการจัดการขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกวิธี ทำให้เกิดมลพิษ ทางดิน น้ำ และอากาศ เป็นแหล่งเพาะพันธ์เชื้อโรคต่าง ๆ และพาหนะ นำโรค ส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพมากขึ้นเช่นกัน โรคภัยที่เกิดจากขยะมูลฝอยได้แก่ โรคระบบทางเดินอาหาร โรคภูมิแพ้ โรคปวดศีรษะคลื่นไส้และอาเจียนเกิดจากกลิ่นเน่าโรคมะเร็ง เนื่องจากได้รับสารพิษต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานและผลกระทบต่อระบบต่าง ๆ ภายในร่างกาย
พื้นที่ตำบลคลองหลา มีปริมาณขยะที่เข้าสู่ระบบกำจัดขยะในปีงบประมาณ 2560 มีจำนวนทั้งสิ้น 381.29 ตัน/ปี เพิ่มขึ้นจากปีงบประมาณ 2559 จำนวน 44.38 ตัน โดยมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 13.17        เมื่อเทียบกับปริมาณขยะในปีงบประมาณ 2559 (ปริมาณขยะที่เข้าสู่ระบบกำจัดในปีงบประมาณ 2559 จำนวน 336.91 ตัน/ปี) โดยเฉพาะขยะเปียกซึ่งในชีวิตประจำวันทุกคนต่างใช้เครื่องอุปโภค บริโภคเพื่อการดำรงชีวิตและมีขยะเกิดขึ้นประมาณ 0.7 – 1.0 กิโลกรัมต่อคนในหนึ่งวัน ขยะบางส่วนเป็นเศษ ผัก ผลไม้และอาหารที่เหลือจากการรับประทาน ซึ่งเป็นขยะอินทรีย์หรือที่เรียกว่าขยะเปียก มักบรรจุถุงและนำไปทิ้ง มักเกิดปัญหาระหว่างรอกำจัดเศษอาหารเหล่านี้ อาจถูกแมลงหรือสัตว์คุ้ยเขี่ยทำให้สกปรกหรือบางครั้งเกิดการเน่า บูดเสีย ทำให้ส่งกลิ่นเหม็นและเป็นพาหะของเชื้อโรค โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกพบว่าในพื้นที่อำเภอคลองหอยโข่งปี 2561 พบผู้ป่วยไข้เลือดออกจำนวน 17 ราย (ข้อมูลจากโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองหอยโข่ง,2561) จากการลงพื้นที่สำรวจพบว่าสาเหตุที่สำคัญอย่างหนึ่งมาจากขยะมูลฝอย หากไม่กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องรวมทั้งการเก็บขยะ    ทั้งภายในบ้านและภายนอกบ้านส่งผลให้เกิดปัญหาทางด้านสุขภาพมากขึ้น ดังนั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนในพื้นที่เกิดโรคจากขยะมูลฝอย จึงต้องมีการจัดการแหล่งขยะที่ถูกสุขลักษณะเพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชน ภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้             ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขม.6 บ้านต้นส้าน จึงจัดทำโครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 เพื่อให้ทุกภาคส่วนหันมาใส่ใจเรื่องดังกล่าวโดยมีการให้ความรู้ สร้างจิตสำนึก สร้างความตระหนัก ทุกภาคส่วนในสังคมเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคเพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งของหรือบรรจุบรรจุภัณฑ์ที่สร้างปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งเป็นมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมเช่นกล่องโฟมและคัดแยกขยะ การกำจัดขยะเปียกอย่างถูกหลัก เพื่อการป้องกันโรค โดยการสร้างความเข้าใจ ความตระหนักของประชาชนภายใต้ความร่วมมือของชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันโรคภัยที่จะเกิดจากขยะได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่องขยะการคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะในชุม

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ           1) ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องการจัดการขยะเปียก การคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะในชุมชน           2) มีแหล่งเรียนรู้กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ           3)ประชาชนมี พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะสมในการป้องกันไม่ให้เกิดโรคจากขยะมูลฝอย           4)ช่วยลดปริมาณขยะและปัญหาเกี่ยวกับสุขภาวะของประชาชนในพื้นที่


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 70
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่องขยะการคัดแยกขยะ การลดปริมาณขยะในชุม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกำจัดขยะปรับปรุงสิ่งแวดล้อมป้องกันโรคสู่สุขภาวะที่ดี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2562 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2562-L5166-2-8

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางละวิว ศรีงาม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด