กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็ก

ตัวชี้วัดกิจกรรม นักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคล พบว่า ก่อนดำเนินการ นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 75.79 และหลังการดำเนินการตามโครงก่าร นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ติดเป็นร้อยละ 82.16


กิจกรรมที่ 2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน จากการตอบแบบทดสอบความรู้ก่อนดำเนินโครงการ พบว่า ครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 70 และหลังการดำเนินโครงการ ครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 90 และ 2) เด็กที่มีภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่าเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไปในทางที่ดี คิดเป็นร้อยละ 39.47


กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง

ตัวชี้วัดกิจกรรม

1) ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ , เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด จากการดำเนินโครงการ โดยการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และการเยี่ยมบ้านเด็ก พบว่า ได้มีการเยี่ยมบ้านเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ , เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 100

2) เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ หลังการดำเนินโครงการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ คิดเป็นร้อยละ 50

3) เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ หลังการดำเนินโครงการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ คิดเป็นร้อยละ 35.71

4) เด็กที่มีความสูงน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขปัญหาร้อยละ 100 หลังการดำเนินโครงการ โดยการวัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีความสูงน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 50


กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาการ/การออกกำลังกาย และเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่นักเรียน

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น จากการดำเนินโครงการ โดยใช้แบบบันทึกการออกกำลังกายและทำกิจกรรมทางกายของนักเรียน พบว่า เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 88.60 และ 2) โรงเรียนสนุบสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะ Active Learning และ Active play เพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 3 ครั้ง


กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) เด็กร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง จากการดำเนินโครงการ โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียนก่อนดำเนินโครงการ มีเด็กฟันผุคิดเป็นร้อยละ 23.41 หลังดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบ ลดลงคิดเป็นร้อยละ 10.12 เด็กรู้จักวิธีแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง คิดเป็นร้อยละ 89.87 และ 2) เด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไขโดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 100

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีปัญหาภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็ก
100.00 100.00

 

2 เพื่อให้ครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานผักและผลไม้
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองเด็ก และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก 2. เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ และไม่กินผัก มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80
80.00 90.00

 

3 เพื่อให้เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 100 เด็กที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์,เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด 2. เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ 3. เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ 4. เด็กที่มีความสูงไม่เป็นไปตามเกณฑ์ได้รับการแก้ไขร้อยละ 100
80.00 100.00

 

4 เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาของเด็กและส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะ Active Learning และ Active play
ตัวชี้วัด : 1. เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาและรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น 2. โรงเรียนสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมแผนการเรียนการสอนในลักษณะ Active Learning และ Active play
80.00 88.60

 

5 เพื่อป้องกันและลดอัตราปัญหาสุขภาพอนามัย และสุขภาพช่องปากของนักเรียน
ตัวชี้วัด : 1. เด็กนักเรียนร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง 2. เด็กที่มีปัญหาสุขภาพและสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไข โดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข ร้อยละ 100
80.00 100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 139 139
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 139 139
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

ทุกคนอยากมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย ซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไป สู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน “โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต

จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในปี 2561 เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่จำนวน 138 คน พบเด็กที่มีปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 7.9 เด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกินเกณฑ์ (ท้วม เริ่มอ้วน และอ้วน) จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 19.42นอกจากนี้ยังมีเด็กที่ไม่กินผัก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.38 และเด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปาก จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 14.38 ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกาย พัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนากการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก เจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กด้วย

ผลการดำเนินการโครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จากการประเมินกิจกรรมต่างๆ ดังนี้

กิจกรรมที่ 1 เฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการเด็ก

ตัวชี้วัดกิจกรรม นักเรียนโรงเรียนบ้านไสใหญ่ร้อยละ 100 มีการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการโดยใช้แบบบันทึกสุขภาพนักเรียนรายบุคคล พบว่า ก่อนดำเนินการ นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์คิดเป็นร้อยละ 75.79 และหลังการดำเนินการตามโครงก่าร นักเรียนมีภาวะโภชนาการตามเกณฑ์ติดเป็นร้อยละ 82.16

กิจกรรมที่ 2 เสริมประสบการณ์ การประกอบอาหาร

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) ร้อยละ 80 ของครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน จากการตอบแบบทดสอบความรู้ก่อนดำเนินโครงการ พบว่า ครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 70 และหลังการดำเนินโครงการ ครู ผู้ปกครองนักเรียน และแม่ครัว มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนคิดเป็นร้อยละ 90 และ 2) เด็กที่มีภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างน้อยร้อยละ 80 จากการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง หลังการดำเนินโครงการ พบว่าเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคไปในทางที่ดี คิดเป็นร้อยละ 39.47

กิจกรรมที่ 3 ติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยง

ตัวชี้วัดกิจกรรม

1) ร้อยละ 100 ของเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ , เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด จากการดำเนินโครงการ โดยการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง และการเยี่ยมบ้านเด็ก พบว่า ได้มีการเยี่ยมบ้านเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ , เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง คิดเป็นร้อยละ 100

2) เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ ร้อยละ 80 มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ หลังการดำเนินโครงการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ มีน้ำหนักเพิ่มขึ้นอยู่ในภาวะปกติ คิดเป็นร้อยละ 50

3) เด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ ร้อยละ 80 มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ หลังการดำเนินโครงการ โดยการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีน้ำหนักเกินเกณฑ์ มีน้ำหนักลดลงอยู่ในภาวะปกติ คิดเป็นร้อยละ 35.71

4) เด็กที่มีความสูงน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขปัญหาร้อยละ 100 หลังการดำเนินโครงการ โดยการวัดส่วนสูง พบว่าเด็กที่มีความสูงน้อยกว่าเกณฑ์ ได้รับการแก้ไขปัญหา คิดเป็นร้อยละ 50

กิจกรรมที่ 4 ส่งเสริมพัฒนาการ/การออกกำลังกาย และเพิ่มกิจกรรมทางกายให้แก่นักเรียน

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) เด็กร้อยละ 80 มีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น จากการดำเนินโครงการ โดยใช้แบบบันทึกการออกกำลังกายและทำกิจกรรมทางกายของนักเรียน พบว่า เด็กมีพัฒนาการทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา และรักการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น คิดเป็นร้อยละ 88.60 และ 2) โรงเรียนสนุบสนุนและส่งเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในลักษณะ Active Learning และ Active play เพิ่มขึ้นสัปดาห์ละ 3 ครั้ง

กิจกรรมที่ 5 ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ตัวชี้วัดกิจกรรม 1) เด็กร้อยละ 80 รู้จักวิธีการแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง จากการดำเนินโครงการ โดยการใช้แบบสำรวจภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบของนักเรียนก่อนดำเนินโครงการ มีเด็กฟันผุคิดเป็นร้อยละ 23.41 หลังดำเนินโครงการ พบว่า มีเด็กที่มีภาวะฟันผุและเหงือกอักเสบ ลดลงคิดเป็นร้อยละ 10.12 เด็กรู้จักวิธีแปรงฟันที่ถูกวิธีและโรคฟันผุลดลง คิดเป็นร้อยละ 89.87 และ 2) เด็กที่มีปัญหาสุขภาพในช่องปากได้รับการแก้ไขโดยทันตแพทย์หรือทันตสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 100

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh