โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 155,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปียุทธศาสตร์ที่๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่๑ พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๖๔ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๓ ด้านการส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ และยุทธศาสตร์ที่๔ ด้านการสร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน
ย้อนไป ๒๕๐๐ ปีที่แล้วโดย ฮิปโปเครติส บิดาทางการแพทย์ของชาวกรีกล่าวไว้ว่า “จงใช้อาหารเป็นยารักษาโรค” และเมื่อนึกถึงโรคยอดฮิตของคนไทยปัจจุบันก็คงหนีไม่พ้นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะโรคไขมันในเลือด ที่เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หากเราเลือกกินอาหารที่ถูกกับโรคจะช่วยควบคุมระดับไขมันในร่างกายได้ ไม่ใช่กินเพื่อให้หายหิว แต่เป็นการกินอย่างคำนึงถึงคุณค่าที่จะได้รับด้วยการดูแลสุขภาพด้วยวิถีธรรมชาติ กินผักพื้นบ้าน ยิ่งถ้าเป็นผักปลอดสารพิษสดๆ ยิ่งจะได้ประโยชน์เต็มๆ ไม่มีสารตกค้างในร่างกาย กินเพื่อสุขภาพกาย และใจที่ดีของเรา
ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน อาทิเช่น อาหารจานด่วนที่มาจากต่างประเทศ อาหารทุกอย่างต้องซื้อไม่สามารถหาได้เองตามธรรมชาติเช่นแต่ก่อน ไม่มีการพิถีพิถันในการทำอาหาร เพียงขอให้รวดเร็วไม่เสียเวลา ก็ซื้อหาทานกันโดย ไม่คำนึงถึงคุณค่าทางอาหารและความสะอาดปลอดภัย และก็เป็นที่ทราบกันดีว่าอาหารในปัจจุบัน ล้วนปนเปื้อนไปด้วยสารเคมี ไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ มีการใส่สารเคมีเร่งในอาหารให้สัตว์โตเร็วได้เนื้อมาก อาหารทะเลก็จำเป็นต้องอาบน้ำยาฟอร์มาลีน ส่วนพวกผักผลไม้ล้วนมีการใช้สารเคมีในหลายๆขั้นตอน คือ ไม่ว่าจะเป็นในช่วงการปลูก การเก็บเกี่ยว รวมถึง ขั้นตอนในการขนส่ง เพื่อให้ผักผลไม้เหล่านั้นคงรูปลักษณ์สีสันเหมือนเดิม และที่เป็นข่าว ในปัจจุบันก็คือ พันธุ์พืชพวกถั่วเหลือง ข้าวโพด ที่มีการตัดต่อยีนหรือที่เรียกว่า พืช GMO ที่ยังคงหาข้อสรุปไม่ได้ว่าจะส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไรเมื่อบริโภคเข้าไปเป็นเวลานานๆ จากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่างตามมาที่เห็นได้ชัดเจนไม่ว่าจะเป็น อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ลดลง โรคภัยไข้เจ็บแปลกๆที่มีเข้ามาเรื่อยๆ สุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรงเจ็บป่วยได้ง่าย รวมถึงการเสียชีวิตที่ไม่ทราบสาเหตุอีกมากมาย ซึ่งในปัจจุบันวงการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารกันมากขึ้นคือ มีความเชื่อว่า การบริโภคอาหารเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักวิถีธรรมชาติ และโภชนาการ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา
- ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี
- ๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
๒. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี
๓. ได้แกนนำกลุ่มอาหารเป็นยาชีวาสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ
วันที่ 18 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ
1.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวชข้อง
2.ประชาสัมพันธ์
3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย
4.แผนดำเนินงาน
กิจกรรมบรรยายความรู้
กิจกรรมสร้างแกนนำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
กลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
200
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ เกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ส่งเสริม สุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
0.00
2
๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี
0.00
3
๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา
ตัวชี้วัด : ได้แกนนำกลุ่มอาหารเป็นยาชีวาสุข
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
200
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี (3) ๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา ”
ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L7258-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 155,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลนครหาดใหญ่ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐-๒๕๖๔ หมวด ๑๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น มาตรา ๒๔๙ ภายใต้บังคับมาตรา ๑ ให้มีการจัดการปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักแห่งการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชนในท้องถิ่น ทั้งนี้ตามวิธีการและรูปแบบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๒๕๐ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีหน้าที่และอำนาจดูแลและจัดทำบริการสาธารณะ และกิจกรรมสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปียุทธศาสตร์ที่๔ ได้กำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาส
และความเสมอภาคทางสังคมในการเข้าถึงบริการอย่างทั่วถึง ซึ่งสอดคล้องเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ที่มียุทธศาสตร์ในการสร้างความเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้ำในสังคม และแผนยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๐ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๑ ด้านการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยได้รับการส่งเสริมสุขภาพและมีสุขภาพที่ดี แผนแม่บทแห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่๑ พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๖๔ ได้กำหนดยุทธศาสตร์ที่๓ ด้านการส่งเสริมการใช้สมุนไพรเพื่อการรักษาโรคและการสร้างเสริมสุขภาพ และยุทธศาสตร์ที่๔ ด้านการสร้างความเข้มแข็งของการบริหาร และนโยบายของภาครัฐเพื่อการขับเคลื่อนสมุนไพรไทยอย่างยั่งยืน
ย้อนไป ๒๕๐๐ ปีที่แล้วโดย ฮิปโปเครติส บิดาทางการแพทย์ของชาวกรีกล่าวไว้ว่า “จงใช้อาหารเป็นยารักษาโรค” และเมื่อนึกถึงโรคยอดฮิตของคนไทยปัจจุบันก็คงหนีไม่พ้นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) เช่น โรคหัวใจ เบาหวาน และความดันโลหิตสูง โดยเฉพาะโรคไขมันในเลือด ที่เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร หากเราเลือกกินอาหารที่ถูกกับโรคจะช่วยควบคุมระดับไขมันในร่างกายได้ ไม่ใช่กินเพื่อให้หายหิว แต่เป็นการกินอย่างคำนึงถึงคุณค่าที่จะได้รับด้วยการดูแลสุขภาพด้วยวิถีธรรมชาติ กินผักพื้นบ้าน ยิ่งถ้าเป็นผักปลอดสารพิษสดๆ ยิ่งจะได้ประโยชน์เต็มๆ ไม่มีสารตกค้างในร่างกาย กินเพื่อสุขภาพกาย และใจที่ดีของเรา
ในปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างเห็นได้ชัดเจน อาทิเช่น อาหารจานด่วนที่มาจากต่างประเทศ อาหารทุกอย่างต้องซื้อไม่สามารถหาได้เองตามธรรมชาติเช่นแต่ก่อน ไม่มีการพิถีพิถันในการทำอาหาร เพียงขอให้รวดเร็วไม่เสียเวลา ก็ซื้อหาทานกันโดย ไม่คำนึงถึงคุณค่าทางอาหารและความสะอาดปลอดภัย และก็เป็นที่ทราบกันดีว่าอาหารในปัจจุบัน ล้วนปนเปื้อนไปด้วยสารเคมี ไม่ว่าจะเป็นเนื้อสัตว์ เช่น เนื้อหมู เนื้อไก่ มีการใส่สารเคมีเร่งในอาหารให้สัตว์โตเร็วได้เนื้อมาก อาหารทะเลก็จำเป็นต้องอาบน้ำยาฟอร์มาลีน ส่วนพวกผักผลไม้ล้วนมีการใช้สารเคมีในหลายๆขั้นตอน คือ ไม่ว่าจะเป็นในช่วงการปลูก การเก็บเกี่ยว รวมถึง ขั้นตอนในการขนส่ง เพื่อให้ผักผลไม้เหล่านั้นคงรูปลักษณ์สีสันเหมือนเดิม และที่เป็นข่าว ในปัจจุบันก็คือ พันธุ์พืชพวกถั่วเหลือง ข้าวโพด ที่มีการตัดต่อยีนหรือที่เรียกว่า พืช GMO ที่ยังคงหาข้อสรุปไม่ได้ว่าจะส่งผลกระทบต่อร่างกายอย่างไรเมื่อบริโภคเข้าไปเป็นเวลานานๆ จากพฤติกรรมการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงหลายๆอย่างตามมาที่เห็นได้ชัดเจนไม่ว่าจะเป็น อายุขัยเฉลี่ยของประชากรที่ลดลง โรคภัยไข้เจ็บแปลกๆที่มีเข้ามาเรื่อยๆ สุขภาพร่างกายที่ไม่แข็งแรงเจ็บป่วยได้ง่าย รวมถึงการเสียชีวิตที่ไม่ทราบสาเหตุอีกมากมาย ซึ่งในปัจจุบันวงการแพทย์ได้ให้ความสำคัญกับการบริโภคอาหารกันมากขึ้นคือ มีความเชื่อว่า การบริโภคอาหารเป็นสาเหตุหนึ่งของปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
ดังนั้น ศูนย์บริการสาธารณสุขหาดใหญ่ชีวาสุข เทศบาลนครหาดใหญ่ จึงจัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา เพื่อเป็นแนวทางในการส่งเสริมการบริโภคอาหารตามหลักวิถีธรรมชาติ และโภชนาการ สามารถนำความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ทั้งกับตนเอง ครอบครัว และชุมชน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา
- ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี
- ๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
๑. เกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา ๒. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี ๓. ได้แกนนำกลุ่มอาหารเป็นยาชีวาสุข
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ |
||
วันที่ 18 กันยายน 2562กิจกรรมที่ทำ1.ประสานงานหน่วยงานที่เกี่ยวชข้อง 2.ประชาสัมพันธ์ 3.รวบรวมรายชื่อกลุ่มเป้าหมาย 4.แผนดำเนินงาน กิจกรรมบรรยายความรู้ กิจกรรมสร้างแกนนำ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้และเกิดความตระหนักเกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้
|
200 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ เกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ส่งเสริม สุขภาพด้วยอาหารเป็นยา |
0.00 |
|
||
2 | ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายร้อยละ ๘๐ เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี |
0.00 |
|
||
3 | ๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา ตัวชี้วัด : ได้แกนนำกลุ่มอาหารเป็นยาชีวาสุข |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 200 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนัก และมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการส่งเสริมสุขภาพ ด้วยอาหารเป็นยา (2) ๒. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้การปลูก และการบริโภคผลิตภัณฑ์จากเกษตรอินทรีย์อย่างถูกวิธี (3) ๓. เพื่อสร้างแกนกลุ่มอาหารเป็นยา
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมบรรยายความรู้และสร้างแกนนำ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพด้วยอาหารเป็นยา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 62-L7258-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวอาบทิพย์ เพ็ชรสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......