กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5 ”

ศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางซารีฮะมะยูนุห์

ชื่อโครงการ โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5

ที่อยู่ ศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 60-L2492-2-14 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 ธันวาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5 " ดำเนินการในพื้นที่ ศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 5 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 60-L2492-2-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 ธันวาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเป็นการดูแลสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปของแต่ละพื้นที่และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวดตลอดจนการรักษาจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือบทสวดทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวของตะวันตกเป็นหลักโดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่จากการสืบทอดผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาและการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้งๆที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทยทั้งที่เป็นหมอพื้นบ้าน ตำราพันธ์ุพืชที่ใช้เป็นยารักษาสมุนไพร วิธีการรักษาโรคตลอดจนวิถีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญท้องถิ่น การแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับชาวบ้านเพื่อเป็นการสืบทอดมรดกต่อลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ตลอดไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อรวบรวมสมุนไพรพื้นบ้านที่หายากและใกล้สูญพันธ์ุในพื้นที่และนอกพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
  2. 2. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง
  3. 3. เพื่อพัฒนาสมุนไพรในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเชิงพาณิชย์สู่ตลาดภายนอก
  4. 4. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้แก่นักศึกษาและนักเรียนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประชาชนที่สนใจในเรื่องสมุนไพรเป็นที่ศึกษาดูงานตลอดไป

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. เกิดต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรในหมู่ 5
    2. ได้อนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้าน
    3. ได้มีตัวผลิตภัณฑ์ของชุมชนด้านสมุนไพร

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. จัดทำศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่5

    วันที่ 1 มีนาคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    จัดทำศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่5/อนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้านและเป็นศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร

     

    90 14

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ตามที่กลุ่มสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 5 ได้ดำเนินการตามโครงการที่ขอสนับสนุนทางกลุ่มสมุนไพรได้รวมพันธ์สมุนไพรพื้นบ้านชนิดต่าง ๆ กว่า 10 ชนิด เช่น ขิง ข่า ตะไคร้ ขมิ้น ฟ้าทะลายโจร อัญชัน ใบเตยหอม ซึ่งแต่ละชนิดจะมีสรรพคุณที่แตกต่างกัน เพื่อใช้ในครัวเรือนและให้ประชาชนที่สนใจต่อไป

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อรวบรวมสมุนไพรพื้นบ้านที่หายากและใกล้สูญพันธ์ุในพื้นที่และนอกพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น
    ตัวชี้วัด :

     

    2 2. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง
    ตัวชี้วัด :

     

    3 3. เพื่อพัฒนาสมุนไพรในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเชิงพาณิชย์สู่ตลาดภายนอก
    ตัวชี้วัด :

     

    4 4. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้แก่นักศึกษาและนักเรียนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประชาชนที่สนใจในเรื่องสมุนไพรเป็นที่ศึกษาดูงานตลอดไป
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 90
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อรวบรวมสมุนไพรพื้นบ้านที่หายากและใกล้สูญพันธ์ุในพื้นที่และนอกพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น (2) 2. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง (3) 3. เพื่อพัฒนาสมุนไพรในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเชิงพาณิชย์สู่ตลาดภายนอก (4) 4. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้แก่นักศึกษาและนักเรียนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประชาชนที่สนใจในเรื่องสมุนไพรเป็นที่ศึกษาดูงานตลอดไป

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 5 จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 60-L2492-2-14

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางซารีฮะมะยูนุห์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด