กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการศูนย์เรียนรู้สวนสมุนไพร ประจำหมู่บ้าน หมู่ 7
รหัสโครงการ 60-L2492-2-16
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7
วันที่อนุมัติ 5 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 28 มกราคม 2560 - 19 ธันวาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางพาตีเมาะฮ์แวกาจิ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ หมู่ที่ 7 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.482,101.763place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

"สมุนไพร"หรือพืชที่สามารถนำมาเป็นเครื่องยาได้ (ไม่ว่าจะเป็นขิง กระเพาะ มะนาว ข่า ใบขี้เหล็ก ยอ ฯลฯ) สมุนไพรหลากหลายชนิดเหล่านี้ล้วนเป็นสมุนไพรที่มีคุณสมบัติและสรรพคุณที่แตกต่างกันออกไป นอกจากจะนำมาใช้ประโยชน์ในการนำมาบริโภคเป็นอาหาร เครื่องดื่ม ตลอดจนทำเครื่องสำอางแล้วสมุนไพรยังเป็นยารักษาโรคต่างๆได้ดีอีกด้วย แต่ด้วยความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์ ทำให้คนไทยหลงลืมวิธีการรักษาโรคแบบไทยโบราณไป เพราะคิดว่าการแพทย์แผนปัจุจบันมีความน่าเชื่อถือมากกว่า ทั้งอุปกรณ์ที่ทันสมัยและวิธีการรักษา ซึ่งในความเป็นจริงแล้วก็อาจจะถูกเป็นบางส่วนแต่ก็ไม่ทั้งหมดเพราะโรคบางโรคก็มิอาจจะรักษาได้ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันจำเป็นต้องอาศัยสมุนไพรไทยซึ่งเป็นมรดกตกทอดมาจากปู่ ย่า ตา ยาย ของเรา ฉะนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้มองเห็นถึงความสำคัญในข้อนี้ ดังนั้นมีการอบรมอาสาสมัครประจำหมู๋บ้านจึงมีการปลูกพืชสมุนไพร และมีการจัดทำสวนสมุนไพรเพื่อเป็นแหล่งรวบรวมพันธ์ุพืชสมุนไพรที่มีอยู๋ในท้องถิ่นและเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีชีวิตภายในชุมชน ซึ่งเป็นสมุนไพรไทยสามารถหาได้ภายในบ้าน อยู๋ในท้องถิ่นซึ่งหาได้ง่าย ราคาประหยัด ที่สำคัญคงคุณค่าความเป็นไทยอีกด้วย

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อกระตุ้นและส่งเสริมให้ประชากรในหมู่บ้านรู้จักสมุนไพรมากขึ้น

 

2 2. เพื่อให้ประชากรในหมู่บ้านหันมาใช้ประโยชน์จากสมุนไพร

 

3 3. เพื่อให้ประชากรในหมู่บ้านรู้จักวิธีการรักษาโรคต่างๆ โดยการใช้สมุนไพร

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
19 เม.ย. 60 - 19 ธ.ค. 60 จัดทำศูนย์เรียนรู้สมุนไพรประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 45 20,000.00 20,000.00
รวม 45 20,000.00 1 20,000.00
  1. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
  2. เขียนโครงการ
  3. จัดแหล่งงบประมาณ
  4. จัดทำโครงการ
  5. สรุปและประเมินผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. ประชากรในหมู่บ้านรู้จักสมุนไพรมากขึ้น
  2. ประชากรในหมู่บ้านได้รับประโยชน์จากพืชสมุนไพรมากขึ้น
  3. ประชากรในหมู่บ้านรู้จักวิธีการรักษาโรคด้วยการนำพืชสมุนไพรไทยมารักษาโรค
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2560 13:41 น.