กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพร หมู่ที่ 10
รหัสโครงการ 60-L2492-2-17
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ กลุ่มหรือองค์กรประชาชน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ กลุ่มศูนย์เรียนรู้สมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 10 ตำบลโคกเคียน
วันที่อนุมัติ 5 มกราคม 2560
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 มีนาคม 2560 - 29 ธันวาคม 2560
กำหนดวันส่งรายงาน
งบประมาณ 20,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นางยูรัยฮาอาแวเต๊ะ
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ศูนย์เรียนร้ด้านสมุนไพรพื้นบ้าน หมู่ที่ 10 ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด 6.482,101.763place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานขยะ
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 90 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง :

stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยเป็นการดูแลรักษาสุขภาพในชุมชนแบบพื้นบ้านซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษ์ที่แตกต่างกันไปของแต่ละพื้นที่และรูปแบบการรักษามีทั้งการใช้ยาสมุนไพร การนวดตลอดจนการรักษาจิตใจโดยใช้พิธีกรรมหรือบทสวดทั้งร่างกายและจิตใจ ซึ่งสามารถตอบสนองความต้องการด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดี แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวของตะวันตกเป็นหลักโดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพเดิมที่มีอยู่ในชุมชนไม่ได้รับการพัฒนาและถูกทอดทิ้งจากคนรุ่นใหม่จากการสืบทอดผู้รู้ส่วนใหญ่เป็นผู้สูงอายุซึ่งนับวันจะลดลง ทำให้ชุมชนรับประโยชน์จากภูมิปัญญาและการแพทย์พื้นบ้านน้อยกว่าที่ควรจะเป็น ทั้งๆที่ความรู้เหล่านี้สามารถช่วยดูแลรักษาความเจ็บป่วยให้กับชาวบ้านได้ อีกทั้งองค์ความรู้ทางการแพทย์พื้นบ้านไทยทั้งที่เป็นหมอพื้นบ้าน ตำราพันธ์ุพืชที่ใช้เป็นยาสมุนไพร วิธีการรักษาโรค ตลอดจนวิถีชีวิต ฯลฯ มีความสำคัญและเป็นสิ่งล้ำค่าที่ควรจะเก็บรวบรวม อนุรักษ์ฟื้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น การแพทย์พื้นบ้านไทยให้อยู่คู่กับชาวบ้านเพื่อเป็นการสืบทอดมรดกต่อให้ลูกหลานในการสืบทอดองค์ความรู้ตลอดไป

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เพื่อรวบรวมสมุนไพรพื้นบ้านที่ยากและใกล้สูญพันธ์ุในพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

 

2 2. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง

 

3 3. เพื่อพัฒนาสมุนไพรในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเชิงพาณิชน์สู่ตลาดภายนอก

 

4 4. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้แก่นักศึกษาและนักเรียนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประชาชนที่สนใจในเรื่องสมุนไพรเป็นที่ศึกษาดูงานต่อไป

 

stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
วันที่ชื่อกิจกรรมกลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)

วัตถุประสงค์ข้อที่ 1 : 1. เพื่อรวบรวมสมุนไพรพื้นบ้านที่ยากและใกล้สูญพันธ์ุในพื้นที่ที่มีการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 2 : 2. เพื่อสนับสนุนให้ชุมชนนำสมุนไพรพื้นบ้านไปใช้ในชีวิตจริง

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 3 : 3. เพื่อพัฒนาสมุนไพรในพื้นที่เป็นผลิตภัณฑ์เพื่อเชิงพาณิชน์สู่ตลาดภายนอก

รวม 0 0.00 0 0.00

วัตถุประสงค์ข้อที่ 4 : 4. เพื่อเป็นศูนย์เรียนรู้แก่นักศึกษาและนักเรียนในพื้นที่และนอกพื้นที่ ประชาชนที่สนใจในเรื่องสมุนไพรเป็นที่ศึกษาดูงานต่อไป

รวม 0 0.00 0 0.00

หมายเหตุ : งบประมาณ และ ค่าใช้จ่าย รวมทุกวัตถุประสงค์อาจจะไม่เท่ากับงบประมาณรวมได้

  1. ประชาสัมพันธ์
  2. เขียนโครงการ
  3. ดำเนินการ
  4. สรุปผล
stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. เกิดต้นแบบศูนย์เรียนรู้ด้านสมุนไพรในหมู่ 10
  2. ได้อนุรักษ์สมุนไพรพื้นบ้าน
  3. ได้มีตัวผลิตภัณฑ์ของชุมชนด้านสมุนไพร
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 21 มี.ค. 2560 13:56 น.