โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมหมาย รักสกุล
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง
สิงหาคม 2562
ชื่อโครงการ โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องของสุขภาพประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จกสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการ รักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่งสูงขึ้น โงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดเพื่อรองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป้นภาระที่รัฐจะต้องเสียงบประมาณเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโุภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือผัก ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ปลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป้นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และส่งเสริมารปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือนการปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยผู้บริโภคได้รับสารอาหารี่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง และปัจุบันบ้านเมืองของเราเต็มไปด้วยขยะและเศษวัสดุเหลือใช้ที่แต่ละบ้านต่างนำมาทิ้งโดยไม่คำนึงถึงผลที่จะตามมาทำให้เกิดภาวะโลกร้อน นอกจากนี้การเพิ่มจำนวนประชากรมนุษย์ที่มีมากขึ้น การส้รางที่อยู่อาศัยมากขึ้น ทำให้พื้นที่ทางการเกษตรลดลง ส่งผลให้ผักมีสาราคาสูง
ชุมชนบ้านปากแพรก ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เล็งเห้นปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นและมองเห็นประโยชน์ของขวดพลาสติกและเศษวัสดุเหลือใช้เหล่านั้น เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การนำขวดพลาสติกเหลือใช้ ยางรนยนต์เก่าๆ มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า โดยการนำเอาขวดพลาสติก ยางรถยนต์เก่าๆมาทำเป็นกระถางปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง สามารถช่วยลดปริมาณขยะ ลดโลกร้อน อีกทั้งนังช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในบ้านและสร้าวรายได้ให้กับรอบครัวอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง
- เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน
- เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน
- เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1
- อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้ารับการอบรมเกิดทักษะและสมารถปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคได้อย่างถูกวิธี
2.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกปลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
3.ผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจากได้รับพืชผักที่ปลอดสารพิและไม่มีสารเคมีตกค้าง
4.ผู้เข้ารับการอบรมเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแปลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชนสามารถพัฒนาอาชีพ และมีงานทำที่สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
5.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
6.ครัวครัวผู้เข้ารับการอบรมได้รับประโยชน์จากการปลูกผักและบริโภคเอง ประหัดและส่งเสริมการเกษตรแบบพอเพียง
7.ลดทรัพยากรขยะในชุมชนและลดภาวะโลกร้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ (รายละเอียด ตามส่วนที่3)
50
0
2. อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำ
อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตามรายการที่แนบ (ตามเอกสาราส่วนที่3)
50
0
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล
วันที่ 1 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตามเอกสารที่แนบ (ส่วนที่3)
50
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค
ตัวชี้วัด :
0.00
2
เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
ตัวชี้วัด :
0.00
3
เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง
ตัวชี้วัด :
0.00
4
เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00
5
เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน
ตัวชี้วัด :
0.00
6
เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
50
50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง (4) เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน (5) เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน (6) เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1 (2) อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2 (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายสมหมาย รักสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี ”
อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นายสมหมาย รักสกุล
สิงหาคม 2562
ที่อยู่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,360.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องของสุขภาพประชาชนคนไทยเพิ่มทวีขึ้น ซึ่งเห็นได้จกสถิติของผู้ป่วยที่มารับบริการ รักษาพยาบาลที่โรงพยาบาล มีจำนวนมากขึ้นเรื่อยๆและอัตราการป่วยจากโรคที่ไม่ติดต่อเพิ่งสูงขึ้น โงพยาบาลก็ต้องเพิ่มขนาดเพื่อรองรับผู้ที่มารับบริการ ซึ่งเป้นภาระที่รัฐจะต้องเสียงบประมาณเป็นอันมาก และเป็นการแก้ปัญหาที่ปลายเหตุ เนื่่องจากต้นเหตุของปัญหาสุขภาพที่สำคัญมีสาเหตุมาจากการบริโุภคอาหารที่ไม่ถูกสุขลักษณะ อาหารที่มีการปลอมปนสารเคมี หรือผัก ผลไม้ที่ไม่ปลอดสารพิษ เพราะเกษตรกรผู้ปลิตใช้สารกำจัดศัตรูพืช อย่างไม่ถูกวิธี เพื่อเหตุผลทางการค้าและพาณิชย์ ทำให้สารเคมีที่เป้นโทษเหล่านั้นตกอยู่กับผู้บริโภคอย่างยากที่จะหลีกเลี่ยง แนวทางในการป้องกันปัญหาที่เป็นการแก้ที่ต้นเหตุแบบยั่งยืน คือการให้สุขศึกษาแก่ประชาชน และส่งเสริมารปลูกผักเพื่อบริโภคในครัวเรือนการปลูกผักรับประทานเองแบบอินทรีย์เป็นหนทางหนึ่งที่จะช่วยผู้บริโภคได้รับสารอาหารี่ดีมีประโยชน์อย่างแท้จริง และปัจุบันบ้านเมืองของเราเต็มไปด้วยขยะและเศษวัสดุเหลือใช้ที่แต่ละบ้านต่างนำมาทิ้งโดยไม่คำนึงถึงผลที่จะตามมาทำให้เกิดภาวะโลกร้อน นอกจากนี้การเพิ่มจำนวนประชากรมนุษย์ที่มีมากขึ้น การส้รางที่อยู่อาศัยมากขึ้น ทำให้พื้นที่ทางการเกษตรลดลง ส่งผลให้ผักมีสาราคาสูง
ชุมชนบ้านปากแพรก ตำบลคูหาสวรรค์ อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง เล็งเห้นปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นและมองเห็นประโยชน์ของขวดพลาสติกและเศษวัสดุเหลือใช้เหล่านั้น เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์การนำขวดพลาสติกเหลือใช้ ยางรนยนต์เก่าๆ มาประยุกต์ใช้ประโยชน์ให้คุ้มค่า โดยการนำเอาขวดพลาสติก ยางรถยนต์เก่าๆมาทำเป็นกระถางปลูกผักสวนครัวไว้กินเอง สามารถช่วยลดปริมาณขยะ ลดโลกร้อน อีกทั้งนังช่วยลดค่าใช้จ่ายภายในบ้านและสร้าวรายได้ให้กับรอบครัวอีกด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค
- เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
- เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง
- เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน
- เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน
- เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1
- อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2
- แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้เข้ารับการอบรมเกิดทักษะและสมารถปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภคได้อย่างถูกวิธี
2.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกปลักอนามัยและเกิดความตระหนักถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง
3.ผู้เข้ารับการอบรมมีสุขภาพอนามัยที่ดีขึ้น เนื่องจากได้รับพืชผักที่ปลอดสารพิและไม่มีสารเคมีตกค้าง
4.ผู้เข้ารับการอบรมเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแปลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชนสามารถพัฒนาอาชีพ และมีงานทำที่สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว
5.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
6.ครัวครัวผู้เข้ารับการอบรมได้รับประโยชน์จากการปลูกผักและบริโภคเอง ประหัดและส่งเสริมการเกษตรแบบพอเพียง
7.ลดทรัพยากรขยะในชุมชนและลดภาวะโลกร้อน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1 |
||
วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำอบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นผู้เข้าร่วมกิจกรรมได้รับความรู้ (รายละเอียด ตามส่วนที่3)
|
50 | 0 |
2. อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2 |
||
วันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2562กิจกรรมที่ทำอบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2 ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามรายการที่แนบ (ตามเอกสาราส่วนที่3)
|
50 | 0 |
3. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล |
||
วันที่ 1 มีนาคม 2562กิจกรรมที่ทำแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตามเอกสารที่แนบ (ส่วนที่3)
|
50 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
4 | เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
5 | เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
||
6 | เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่ ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | 50 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | 50 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อต้องการส่งเสริมและสนับสนุนการปลูกผักสวนครัวปลอดสารพิษไว้บริโภค (2) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการบริโภคที่ถูกหลักอนามัยและเกิดความตระหนัถึงปัญหาในการบริโภคอาหารและพืชผักที่มีสารพิษตกค้าง (3) เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากได้บริโภคพืชผักที่ปลอดสารพิษและไม่มีสารตกค้าง (4) เพื่อเสริมสร้างการเรียนรู้และสนับสนุนให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แลกเปลี่ยนผลผลิตซึ่งกันและกัน ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างกันของคนในชุมชน (5) เพื่อใช้ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงุสดอย่างคุ้มค่า ลดขยะในชุมชน สังคม และลดภาวะโลกร้อน (6) เพื่อลดรายจ่ายในครัเรือนที่เป็นอยู่
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 1 (2) อบรมหลักสูตรปลูกผักสวนครัวฯ วันที่ 2 (3) แลกเปลี่ยนเรียนรู้และสรุปผล
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผักข้างบ้าน อาหารข้างรั้ว ครอบครัวพอเพียง หลีกเลี่ยงสารเคมี จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2562-L7572-02-001
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายสมหมาย รักสกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......