กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ


“ โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562 ”

ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นายสมปอง ลุ้งบ้าน

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L1490-1-7 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกหล่อ อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 2562-L1490-1-7 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 21,452.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกหล่อ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่เป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทยในแต่ละปีมีผู้ที่ป่วยเป็นไข้เลือดออกจำนวนมาก พบมีการแพร่ระบาดของโรคทุกจังหวัดและมีผู้ป่วยไข้เลือดออกเสียชีวิตทุกปี ปัจจุบันสถานการณ์โรคไข้เลือดออก  พบผู้ป่วยได้ตลอดปีและมีแนวโน้มการเกิดโรคเพิ่มมากขึ้น เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมที่เป็นชุมชนเมืองเพิ่มมากขึ้น มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะและเอื้อต่อการเกิดโรคโดยเฉพาะในพื้นที่เขตเมือง ประชากรอาศัยอยู่กันแออัด ประกอบอาชีพทำงานนอกบ้าน ไม่มีเวลาใส่ใจกับสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบบริเวณบ้าน เช่น เศษวัสดุที่ขังน้ำได้ทุกชนิด  จานรองกระถางต้นไม้ แจกันไหว้พระ ยางรถยนต์หรือสิ่งของเหลือใช้ที่ถูกทิ้งไม่ได้สนใจ ทำให้กลายเป็นที่วางไข่    ของยุงลายตัวเต็มวัยและตัวยุงลายจะเป็นพาหะนำเชื้อไข้เลือดออก ต่อไป

มาตรการการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ที่จำเป็นอย่างหนึ่ง คือ การควบคุมโรคไม่ให้เกิดการระบาดในพื้นที่ คือ หลักการทำให้แน่ใจว่ายุงที่มีเชื้อไข้เลือดออก ไม่สามารถแพร่กระจายเชื้อได้ โดยการฉีดพ่นสเปร์ยฆ่ายุงลาย ในบ้านผู้ป่วยทันที ควบคู่กับการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบ้านผู้ป่วยและบ้านใกล้เคียงในรัศมีอย่างน้อย 50 เมตร จากบ้านผู้ป่วย ร่วมกับการติดตามเฝ้าระวังค้นหาผู้ที่มีอาการไข้สูงเกิน 48 ชั่วโมง แนะนำให้ได้พบแพทย์โดยเร็วที่สุดเป็นการลดช่วงเวลาที่ผู้ป่วยจะถูกยุงลายกัดที่บ้าน ซึ่งสามารถช่วยลดการแพร่กระจายของโรค  ในพื้นที่ได้

นอกจากนี้ในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก ยังมีความจำเป็นในการประชาสัมพันธ์แจ้งข่าวสารสถานการณ์โรค ให้ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบต่อเนื่อง โดยการรณรงค์ผ่านช่องทางที่มี เช่น รถประชาสัมพันธ์    หอกระจายข่าวประจำหมู่บ้าน เพื่อกระตุ้น สร้างกระแสให้ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วมในการสำรวจกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายในบริเวณบ้านของตนเอง เป็นการตัดวงจรชีวิตของยุง ลดจำนวนยุงลาย ทำให้ความเสี่ยงในการป่วยเป็นโรคไข้เลือดออกก็จะลดลงด้วย

ข้อมูลทางระบาดวิทยา 3 ปีย้อนหลัง ตำบลโคกหล่อพบผู้ป่วยไข้เลือดออก ปี 2558 พบผู้ป่วย 28 ราย(อัตราป่วยเท่ากับ 210.10 ต่อแสนประชากร) ปี 2559 พบผู้ป่วย 25 ราย(อัตราป่วยเท่ากับ 189.10 ต่อแสนประชากร)และปี 2560 พบผู้ป่วย 16 ราย(อัตราป่วยเท่ากับ 120.53 ต่อแสนประชากร) จากข้อมูลพบว่าผู้ป่วยไข้เลือดออก  มีแนวโน้มลดลง แต่อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกยังสูงกว่าเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้(อัตราป่วยต่อแสนประชากร ไม่เกิน 50) นอกจากนี้การเกิดโรคตามหลักการระบาดวิทยา พบว่าการเกิดโรคไข้เลือดออกจะระบาด  ทุกๆ 2 ปี เว้น 1 ปี ดังนั้นจึงคาดคะเนการเกิดโรคไข้เลือดออกในตำบลโคกหล่อ ปี 2562 น่าจะพบผู้ป่วยเพิ่มมากกว่า

ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโคกหล่อ จึงได้จัดทำโครงการขอสนับสนุนงบประมาณ จากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลโคกหล่อ เพื่อจัดกิจกรรมในการแก้ปัญหาโรคไข้เลือดออกนี้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งสถานการณ์และกระตุ้น ให้ประชาชนได้มีการป้องกันตนเอง
  2. เพื่อประชาชนในครัวเรือน ได้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรค
  3. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์ไข้เลือดออกในพื้นที่
  2. กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก
  3. กิจกรรม Big cleaning day 2 ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประชาชนในพื้นที่ได้รับทราบสถานการณ์และสามารถป้องกันตนเองจากโรคไข้เลือดออกได้

2.จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งสถานการณ์และกระตุ้น ให้ประชาชนได้มีการป้องกันตนเอง
ตัวชี้วัด : ภาพการประชาสัมพันธ์และการมีส่วนร่วมของประชาชน ในพื้นที่
0.00

 

2 เพื่อประชาชนในครัวเรือน ได้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรค
ตัวชี้วัด : ภาพกิจกรรมครัวเรือน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย ในบ้านและบริเวณบ้านของตนเอง
0.00

 

3 เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 300
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 300
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อประชาสัมพันธ์แจ้งสถานการณ์และกระตุ้น ให้ประชาชนได้มีการป้องกันตนเอง (2) เพื่อประชาชนในครัวเรือน ได้มีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรค (3) เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์ไข้เลือดออกในพื้นที่ (2) กิจกรรมเยี่ยมบ้านผู้ป่วยไข้เลือดออก (3) กิจกรรม Big cleaning day  2 ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์เพื่อร่วมขจัดภัยโรคไข้เลือดออก ตำบลโคกหล่อ ปี 2562 จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 2562-L1490-1-7

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายสมปอง ลุ้งบ้าน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด