กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ ”

ม.2 บ้านน้ำน้อยตก ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาออก

หัวหน้าโครงการ
อสม.ม.2

ชื่อโครงการ โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ม.2 บ้านน้ำน้อยตก ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาออก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60/L8404/02/16 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 18 มกราคม 2560 ถึง


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.2 บ้านน้ำน้อยตก ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาออก

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ม.2 บ้านน้ำน้อยตก ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลาออก รหัสโครงการ 60/L8404/02/16 ระยะเวลาการดำเนินงาน 18 มกราคม 2560 - (ยังไม่ระบุ) ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การมีสุขภาพดีเป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนาซึ่งประกอบด้วยการดูแลสุขภาพของตนเองอย่างถูกต้องและเหมาะสมเช่น การรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกาย การพักผ่อนที่เพียงพอ การป้องกันโรคที่ถูกต้องไม่ทำลายสุขภาพของตัวเรา ทั้งระยะสั้นและระยะยาว และที่สำคัญคือ การออกกำลังกายที่สม่ำเสมอ ซึ่งการออกกำลังกาย ทำให้มีสุขภาพที่ดีทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจสังคมอารมณ์และสติปัญญาแต่ เนือ่งจากสังคมได้เปลี่ยนแปลงไปตามกระแสโลกาภิวัตน์จากสภาพสังคมเกษตรกรรมเป็นสังคมอุตสาหกรรมเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและสภาพแวดล้อมทำให้หลายคนมองข้ามการออกกำลังกาย หลายคนอ้างไม่ีเวลาบางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จึงเป็นเหตุให้สขภาพอ่อนแอลง และอาจประสบกับปัญหาการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆตามมาเช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน โรคอ้วนโรคมะเร็ง ความเครียดฯลฯ และจากข้อมูลวารสารสร้างสุข ปีที่ 7 ฉบับที่ 105 ปี 2553 พบว่าคนไทยมีการออกกำลังกายน้อยมาก จากประชากร 66.3 ล้านคน มีการออกกำลังกายเป็นประจำเพียง 16.3 ล้านคน โดยในวัยเด็กคิดเป็นร้อยละ 73 และคนวันทำงานคิดเป็นร้อยละ 20 จากผลการวิจัยปัญหาและอุปสรรคในการออกกำลังกายของคนไทย พบว่า ส่วนใหญ่ไม่มีเวลา รองลงมาไม่มีอุปกรณ์ออกกำลังกายและไม่มี จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงของประชากร หมู่ที่ 2 ตำบลน้ำน้อยอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยการใช้แบบประเมินสุขภาพครอบครัว เมื่อวันที่ 5-6 มกราคม พ.ศ.2560 พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมเสี่ยงมากที่สุด การไม่ได้ออกกำลังกายร้อยละ 26.06 รองลงมาคิอ การรับประทานอาหารจุบจิบหรือกินจุ ร้อยละ 20.52 และรับประทานอาหารรสจัด (หวานมัน เค็ม เผ็ด ) ร้อยละ 14.33 และจากการประชุมทำประชาคมเมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ.2560 พบว่าประชาชนให้ความสำคัญในเรื่องการออกกำลังกาย ซึ่งจากการสอบถามสาเหตุของการไม่ได้ออกกำลังกายพบว่า ประชาชนหมู่ที่ 2 ตำบลน้ำน้อย ไม่ได้ออกกำลังกายเนื่องจากไม่มีเวลา เพราะส่วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้าง ทำงานโรงงาน ทำให้เร่งรีบในการไปทำงานในตอนเช้า และกลับถึงบ้านเป็นเวลาค่ำ รวมถึงจากการประกอบอาชีพกรีดยางในตอนกลางคืนทำให้ต้องนอนพักผ่อนในช่วงเวลากลางวัน เหน็ดเหนื่อยจากการทำงานซึ่งหากประชาชนไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆตามมา จากสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวข้างต้น อาสาสมัครสาธารรสุขประจำหมุ่บ้าน หมู่ที่ 2 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย และนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับปัญหาจึงได้ร่วมจัดโครงการ ผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อช่วยสร้างเสริมให้ร่างกายมีสุขภาพแข็งแรง ช่วยสร้างเสริมระบบภูมิคุ้มกันและช่วยป้องกันโรคต่างๆโดยการจัดกิจกรรม การแสดงละครเรื่องผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย สอนและสาธิตท่าการอบอุ่นร่างกายและผ่อนคลายกล้ามเนื้อและผ่อนคลายกล้ามเนื้อก่อนและหลังการออกกำลังกาย โดยใช้อุปกรณ์ คือผ้าพันคอร่วมกับชุมชน ซึ่งการออกกำลังกายสามารถช่วยป้องกันโรคเรื้อรังชนิดต่างๆ และภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ รวมถึงเป็นการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์แล้วยังช่วยเสริมสร้างให้ร่างกายแข็งแรงผ่อนคลายอารมณ์เสริมสร้างความสามัคคี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชาชนทราบถึงผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายต่อการใช้ชีวิตประจำวันและมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการออกกำลังกายร้อยละ 90
  2. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับท่าของการอบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้อุปกรณ์คือ ผ้าพันคอ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 100
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ ในระดับดีร้อยละ 90

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และประโยชน์ของการออกกำลังกาย 2.กลุ่มเป้าหมายมีความเสี่ยงต่อการเจ้บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง 33.กลุ่มเป้าหมายมีการตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย เพื่อนำไปสู่ภาวะสุขภาพที่ดีในระยะยาว


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. ออกกำลังกาย

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายขณะดำเนินกิจกรรม

     

    40 40

    2. การแสดงบทบาทสมมติ

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 09:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายมีการอกกำลังกายขณะดำเนินกิจกรรม

     

    40 0

    3. ให้ความรู้

    วันที่ 18 มกราคม 2560 เวลา 13:30 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    กลุ่มเป้าหมายสามารถตอบคำถามเกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายและประโยชน์ของการออกกำลังกาย

     

    40 0

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ประชาชนทราบถึงผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายต่อการใช้ชีวิตประจำวันและมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการออกกำลังกายร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายทราบถึงผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายต่อการใช่ชิวิตประจำวัน และมีความรู้เกี่ยวกับการออกกำลังกาย

     

    2 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับท่าของการอบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้อุปกรณ์คือ ผ้าพันคอ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 100
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับท่าของการอบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้อุปกรณ์คือ ผ้าพันคอ

     

    3 เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ ในระดับดีร้อยละ 90
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของกลุ่มเป้าหมายที่มีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 40
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนทราบถึงผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายต่อการใช้ชีวิตประจำวันและมีความรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของการออกกำลังกายร้อยละ 90 (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับท่าของการอบอุ่นร่างกายและการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ โดยใช้อุปกรณ์คือ ผ้าพันคอ ได้ถูกต้อง ร้อยละ 100 (3) เพื่อให้ประชาชนมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ ในระดับดีร้อยละ 90

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการผ้าพันคอเพื่อสุขภาพ จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60/L8404/02/16

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( อสม.ม.2 )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด