กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย


“ โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย ”

ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นายยกจันทะนา

ชื่อโครงการ โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย

ที่อยู่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60/L8404/02/13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 ธันวาคม 2559 ถึง 26 ธันวาคม 2559


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60/L8404/02/13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 ธันวาคม 2559 - 26 ธันวาคม 2559 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพที่ดีเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงปรารถนาการมีสุขภาพที่ดีมิได้หมายถึงการมีหลักประกันในการเข้าถึงบริการสุขภาพเมื่อเจ็บป่วยเท่สนั้น สิ่งสำคัญคือขึ้นอยู่กับพฤติกรรมในการปฏิบัติตัวของตนเอง การดูแลสุขภาพตนเองนั้นสามารถทำได้หลายวิธี เช่น การรับประทานอาหารที่เหมาะสมครบถ้วนทางด้านโภชนาการและมีประโยชน์ต่อร่างกาย การงดสูบบุหรี่ดื่มสุรา การออกกำลังกาย ซึ่งการออกกำลังกายให้สุขภาพดีนับเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งจะเกิดผลดีต่อหัวใจและปอด ระบบประสาท ผ่อนคลายกล้ามเนื้อ เอ็นและข้อต่างๆ และยังทำให้อารมณ์ดีมีความสุขอีกด้วย ปัจจุบันประชาชนจะมีพฤติกรรมแน่นิ่ง มองข้ามการออกกำลังกายหลายคนอ้างไม่มีเวลา บางคนเข้าใจว่าการเปลี่ยนแปลงอิริยาบถในชีวิตประจำวันเป็นการออกกำลังกาย จากการสำรวจระดับการมีกิจกรรมทางกายที่พอเพียงในประเทศไทยที่ผ่านมา พบว่าคนไทยมีระดับกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ ลดลงจากปีพ.ศ 2550 ที่ร้อยละ 85 และปีพฬศ 2551 ร้อยละ 82 เป็นร้อยละ 62-68 ในปี พ.ศ 2552-2557 ร้อยละ 72 ในปี พ.ศ 2558และล่าสุดร้อยละ 42 ในปีพ.ศ 2559 ทำให้พบการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง (การออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ,2559) จากรายงานสถิติสาธารณสุข พ.ศ2550-2556 พบว่าจำนวนและอัตราผู้ป่วยในโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญ ได้แก่ โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมองใหญ่หรืออัมพฤกษ์อัมพาต และโรคเบาหวาน มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นทุกโรคอย่างต่อเนื่องตั้งแต่ปี พ.ศ.2550-2556 กลุ่มโรคไม่ติดต่อ เป็นกลุ่มโรคที่องค์การอนามัยโรคให้ความสำคัญในการป้องกันและควบคุมอย่างเร่งด่วนคือ 4 กลุ่มโรคหลักประกอบด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือดโรคเบาหวาน โรคมะเร็งและโรคปอดเรื้อรังในปี พ.ศ.2557 จำนวนและอัตราผู้ป่วยในต่อประชากรแสนด้วยโรคติดต่อที่สำคัญได้แก่โรคความดันโลหิตสูง จำนวน 1,014,231 อัตรา 1561.42,โรคหัวใจขาดเลือด จำนวน 264,820 อัตรา 407.69,โรคหลอดเลือดสมองใหญ่ จำนวน 228,836 อัตรา 352.30 และโรคเบาหวาน จำนวน 670,664 อัตรา 1,032.50
จากการสำรวจพฤติกรรมเสี่ยงประชากร หมู่ที่ 10 ตำบลน้ำน้อย อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา พ.ศ.2559 โดยการใช้แบบประเมินสุขภาพครอบครัว สำรวจโดยนักศึกษาพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 4 เมื่อวันที่ 7 ธันวาคม 2559 พบว่าประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีพฤติกรรมเสี่ยงที่พบมากที่สุดคือ การไม่ได้ออกกำลังกายร้อยละ 52 รองลงมาคือ การรับประทานอาหารรสจัด (หวาน มัน เค็ม จัด ) ร้อยละ 18.58 สูบบุหรี่เป็นประจำ(สูบทุกวัน) ร้อยละ 16.81 และจากการประชุมการทำประชาคมเมื่อวันที่ 13 ธันวาคม พ.ศ.2559 ประชาชนให้ความสำคัญในเรื่องของการออกกำลังกายและการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ซึ่งจากการสอบถามประชาชนเพิ่มเติมพบว่าประชากรหมู่ที่ 10 ตำบลน้ำน้อย ส่วนใหญ๋ไม่ได้ออกกำลังกาย เนื่องจากเวลาไม่ตรงกัน และส่วนใหญ่ประกอบอาชีพกรีดยางในตอนกลางคืน ทำให้ต้องนอนพักผ่อนในช่วงเวลากลางวัน เพราะเหน็ดเหนื่อยจากการทำงาน และอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ข้อเข่า ซึ่งหากประชาชนไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดังกล่าวจะส่งผลให้เกิดการเจ็บป่วยด้วยโรคต่างๆตามมา จากสภาพปัญหาและสาเหตุดังกล่าวข้างต้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หมู่ที่ 10 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลน้ำน้อย และนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สงขลา ร่วมกับกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลน้ำน้อย ได้ตระหนักและให้ความสำคัญกับปัญหาจึงได้ร่วมจัดทำโครงการ " บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย" ขึ้น โดยการจัดกิจกรรมให้ความรู้เรื่องผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และการบริหารร่างกายคลายปวดเมื่อยด้วยกะลา การออกกำลังกายด้วยกะลาโนราบิค ซึ่งการออกกำลังกายสามารถช่วยป้องกันโรคเรื้อรังชนิดต่างๆและภาวะแทรกซ้อนต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และประโยชน์ของการออกกำลังกาย
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายมากขึ้น
  3. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในเรื่องการออกกำลังกาย ร้อยละ 60
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเป้าหมายมีอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังลดลง และในกลุ่มผู้ป่วยรายเก่าไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเจ็บป่วยเพิ่มขึ้น 2.กลุ่มเป้าหมายมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อลดลง 3.กลุ่มเป้าหมายสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปเผยแพร่ต่อผู้อื่นได้ 4.กลุ่มเป้าหมายรวมตัวกันออกกำลังกายอย่างต่อเนื่อง 5.เกิดความสามัคคีในชุมชนในการร่วมกันออกกำลังกาย นำไปสู่ความเข้มแข็งของชุมชนในการดูแลสุขภาพ 6.เกิดต้นแบบที่ดีในการออกกำลังกาย


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    1. บรรยายและตอบคำถามชิงรางวัล

    วันที่ 22 ธันวาคม 2559 เวลา 14:00 น.

    กิจกรรมที่ทำ

     

    ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

    ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรุ้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายและประโยชน์ของการออกกำลังกาย อยู่ในระดับดีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ 100 ผู้เข้าร่วมดครงการมีการออกกำลังกายคิดเป้นร้อยละ 60.26 ผู้เข้าร่วมโครงการมีความตระหนักคิดเป็นร้อยละ 91.49

     

    50 50

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และประโยชน์ของการออกกำลังกาย ร้อยละ 100 2.กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกาย ร้อยละ 60.26 ไม่บรรลุวัตถประสงค์ 3.กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในเรื่องการออกกำลังกาย ร้อยละ 91.49
    4.กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 100

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และประโยชน์ของการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกายและประโยชน์ของการออกกำลังกาย

     

    2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายมากขึ้น
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้น จากร้อยละ 52.8 เป็นร้อยละ 70 มีการออกกำลังกายมากขึ้น

     

    3 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในเรื่องการออกกำลังกาย ร้อยละ 60
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มเป้าหมายเพิ่มขึ้นจาก ร้อยละ 52.8 เป็นร้อยละ 70 มีความตระหนักในการออกกำลังกายเพิ่มขึ้น

     

    4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 60 ของกลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับผลกระทบจากการไม่ออกกำลังกาย และประโยชน์ของการออกกำลังกาย (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีการออกกำลังกายมากขึ้น (3) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความตระหนักในเรื่องการออกกำลังกาย ร้อยละ 60 (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 80

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ บ้านบนเขา เราร่วมใจ ใฝ่ออกกำลังกาย คลายปวดเมื่อย จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60/L8404/02/13

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายยกจันทะนา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด