กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า


“ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า ”

ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยีย๊ะ ยะพา และนางซีซ๊ะ เจะโวะ

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า

ที่อยู่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3055-10-2 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางเก่า อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3055-10-2 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางเก่า เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคชิคุนกุนยา เป็นโรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา (Chikungunya virus) หรือไข้ปวดข้อยุงลาย ที่มีทั้งยุงลายสวนและยุงลายบ้านเป็นพาหะนำโรค พบได้ทุกกลุ่มอายุ ผู้ป่วยจะมีอาการไข้สูงอย่างฉับพลัน มีผื่นแดงขึ้นตามร่างกาย และอาจมีอาการคันร่วมด้วย พบตาแดง แต่ไม่ค่อยพบจุดเลือดออกในตาขาว ส่วนใหญ่แล้วในเด็กจะมีอาการไม่รุนแรงเท่าในผู้ใหญ่ โดยในผู้ใหญ่อาการที่เด่นชัดคืออาการ ปวดข้อ ซึ่งอาจพบข้ออักเสบได้ ส่วนใหญ่จะเป็นที่ข้อเล็กๆ เช่น ข้อมือ ข้อเท้า อาการปวดข้อจะพบได้หลาย ๆ ข้อเปลี่ยนตำแหน่งไปเรื่อยๆ อาการจะรุนแรงมากจนบางครั้งขยับข้อไม่ได้ อาการจะหายภายใน 1-2 สัปดาห์ ผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการปวดข้อเกิดขึ้นได้อีกภายใน 2-3 สัปดาห์ต่อมา และบางรายอาการปวดข้อจะอยู่ได้นานเป็นเดือนหรือเป็นปี ไม่พบผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงถึงช็อก ซึ่งแตกต่างจากโรคไข้เลือดออก อาจพบทูนิเก้เทสท์ให้ผลบวก และจุดเลือดออกบริเวณผิวหนังได้         สำหรับสถานการณ์โรคชิคุนกุนยาในประเทศไทย ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. – 30 ธ.ค. 2561 มีรายงานของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข พบผู้ป่วยจำนวน 3,444 ราย ใน 14 จังหวัด ไม่พบผู้เสียชีวิต โดยจังหวัดที่มีอัตราป่วยสูงสุด 5 อันดับ คือ สงขลา( 165.47 ต่อประชากรแสนคน ) รองลงมาเป็นสตูล (70.92) ภูเก็ต (45.47) ปัตตานี (36.86) และนราธิวาส (36.32) ตามลำดับ ซึ่งส่วนใหญ่พบผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อนในบางอำเภอในพื้นที่ที่เป็นจังหวัดท่องเที่ยว สำหรับจังหวัดสงขลา (ตั้งแต่ 1 มค – 31 ธค 2561) พบผู้ป่วยโรคชิกุนคุนยา จำนวน 2,351 ราย ไม่มีรายงานผู้เสียชีวิต กลุ่มอายุที่พบมากสูงสุดคือกลุ่มอายุ 10-14 ปี รองลงมาคือกลุ่มอายุ 24-34 ปี และ 35-44 ปีตามลำดับ พบอัตราป่วยสูงในอำเภอหาดใหญ่ บางกล่ำ เมืองสงขลา ตามลำดับ       ตำบลบางเก่าเป็นอีกตำบลหนึ่งที่มีการระบาดของโรคชิคุณกุนยาอย่างต่อเนื่อง ในปี 2562 พบว่าสถิติประชาชนที่ป่วยด้วยโรคชิคุนกุนยามี จำนวน 20 ราย ถือเป็นอันดับสองของอำเภอสายบุรี อสม.ตำบลบางเก่าจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่าขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันประชาชนจากโรคชิคุณกุนยา เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยา

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนในตำบลป่วยจากโรคชิคุนกุนยาลดลง 2. การระบาดของโรคชิคุนกุนยาลดลง

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยา
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยา

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคชิคุนกุนยาตำบลบางเก่า จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L3055-10-2

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวยีย๊ะ ยะพา และนางซีซ๊ะ เจะโวะ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด