กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่


“ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ ”

ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสุธาทิพย์ จันทคาร

ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2981-01-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาประดู่ อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562 นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม (3) สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ในการดำเนินโครงการครั้งนี้ ผูู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายมอบให้แก่อสม. เพื่อนำไปมอบแก่กลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์มาให้ความรู้ และคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในหญิงกลุ่มวัย 30-60 ปี และนำทีม Pap smear จาก รพ.สต.โคกอ้นมาช่วยในการตรวจคัดกรองครั้งนี้ด้วย
จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองพบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม 2 รายส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ พบผู้มีเซลล์ผิดปกติจำนวน 2 ราย ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี มีการอักเสบจำนวน 55 ราย ติดเชื้อราจำนวน 17 ราย และติดเชื้อแบคทีเรียจำนวน 9 ราย ในรายที่มีการอักเสบ ติดเชื่อราและเชื้อแบคทีเรีย แพทย์ได้สั่งยารักษาทุกรายและนัดตรวจซ้ำในรายที่มีการอักเสบหลังได้รับยา 6 เดือน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งอันดับ 2 ของมะเร็งในสตรีทั่วโลก รองลงมาจากมะเร็งเต้านม สำหรับในประเทศไทยมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในสตรีไทย สาเหตุที่แท้จริงไม่ทราบแน่นอน แต่สาเหตุสำคัญเท่าที่วิทยาการทางการแพทย์ตรวจพบได้ในปัจจุบัน คือ การติดเชื้อ human papi;lloma virus หรือ HPV บริเวณปากมดลูก เป็นสาเหตุจำเพาะของมะเร็งปากมดลูก ปัจจัยอื่นๆ เป็นเพียงปัจจัยส่งเสริมทำให้มีโอการสติดเชื้อหรือง่ายขึ้น เช่น การมีคู่นอนหลายคน การมีเพศสัมพันธ์ เมื่ออายุยังน้อย หรือการตั้งครรภ์เมื่ออายุน้อย มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดเป็นอันดับ 1 ในผู้หญิงไทย และจะมีอัตรการเสียชีวิตเกินครึึ่งหนึ่งเลยทีเดียว และเป็นต้นเหตุทำให้หญิงไทยทั่วโลกเสียชีวิตมากกว่าปีละ 270,000 คน หรือเฉลี่ยวันละ 640 คน โดยมีสถิตืของผู้เสียชีวิตเฉลี่ยสูงถึง 7 คนต่อวัน แต่โรรคมะเร็งปากมดลูกสามารถรักษาให้หาย และมีความเป็นไปได้ในการกำจัดให้หมดไปจากประเทศไทย หากตรวจพบตั้งแต่อยู่ในระระเริ่มแรก หรือระยะก่อนเป็นมะเร็ง ปัญหาสำคัญคือคนไทยร้อยละ 50 มักไปพบแพทย์ขณะที่โรคลุกลามแล้ว ซึ่งยากต่อการรักษษให้หาย ผู้ป่วยมักเสียชีวิต รวมทั้งค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลจำนวนมาก ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาประดู่ได้เหห็นความสำคัญของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก โดยวิธี Pap smear เพราะเป็นวิธีที่ตรวจง่ายใช้เวลาไม่นาน และเสียค่าใช้จ่ายไม่มากเมื่อเทียบกับค่ารักษาพยาบาลกรณีที่มีการเจ็บป่วย จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น เพือ่ให้สตรีกลุ่ม 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกจากการดำเนินงานคิดเป็นร้อยละ 20 ผ่านเกณฑ์ ปีงบประมาณ 2558 มีกลุ่มเป้าหมาย 1,105 คน มารับการตรวจ 201 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2 พบเซลล์ผิดปกติ 1 ราย ได้ส่งรับการรักษาตัวต่อที่โรงพยาบาลปัตตานี พบติดเชื้อรา 6 ราย พบการอักเสบ 13 ราย ซึ่งจะต้องนัดตรวจซ้ำอีก 6 เดือน ปี 2559 มีกลุ่มเป้าหมาย 1,175 คน ได้รับการคัดกรอง 235 คนผ่านเกณฑ์ พบเซลล์มะเร็ง 1 ราย ส่งต่อโรงพยาบาลปตตานี โรงพยาบาลปัตตานีส่งต่อผ่าตัด โรงพยาบาลมอ.หาดใหญ่ และพบเชื้อรา 9 ราย อักเสบ 12 ราย ติดเชื้อแบคทีเรีย 3 ราย ให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 20 คิดเป็น 235 คน ปี 2560 มีกลุ่มเป้าหมาย 880 คน ได้รับการคัดกรอง 176 คน ผ่านร้อยละ 20 ในปี 2562 มีกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 630 คน ต้องได้รับการคัดกรองให้ผ่านร้อยละ 20 คิดเป็น 126 คน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
  2. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม
  3. สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
  4. เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 126
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตระหนักถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  2. สตรีวัยเจริญพันธ์อายุ 30-60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี Pap smear ไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมร้อยละ 100

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562

วันที่ 1 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

1.ประชุมชี้แจงโครงการแแก่กลุ่มเป้าหมายและอสม.ที่รับผิดชอบ 2.รณรงค์ให้ความรู้ประชาสัมพันธ์โครงการแก่ผู้เข้าร่วม 3.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเป้าหมาย 4.จัดคลีนิคให้บริการตรวจมะเร้งมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกไม่น้อยกว่าร้อยละ 60

 

126 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองไม่พบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ ยังไมทราบผลการตรวจ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีที่เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมเพื่มมากขึ้น
0.80 1.00

 

2 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีที่เข้าร่วมกิจกรรมมีความตระหนักของโรคเพิ่มมากขึ้น
0.80 1.00

 

3 สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : ร้อยละของสตรีที่ได้รับการตรวจไม่น้อยกว่าร้อยละ 20
0.20 0.20

 

4 เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัด : ร้อยละสตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสมทั้งหมด
1.00 1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 126 126
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 126 126
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพปีงบประมาณ 2562 นี้ จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์คือ (1) เพื่อให้สตรี อายุ 30-60 ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพยาธิสภาพของโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม (2) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดความตระหนักและเห็นความสำคัญของการรับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจมะเร็งเต้านม (3) สตรีอายุ 30 ถึง 60 ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก (4) เพื่อให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกที่พบความผิดปกติได้รับการส่งต่อและรักษาที่ถูกต้องเหมาะสม ในการดำเนินโครงการครั้งนี้ ผูู้รับผิดชอบโครงการได้จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายมอบให้แก่อสม. เพื่อนำไปมอบแก่กลุ่มเป้าหมาย และได้เชิญวิทยากรจากโรงพยาบาลโคกโพธิ์มาให้ความรู้ และคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในหญิงกลุ่มวัย 30-60 ปี และนำทีม Pap smear จาก รพ.สต.โคกอ้นมาช่วยในการตรวจคัดกรองครั้งนี้ด้วย
จากการดำเนินโครงการนี้ มีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 126 คน ผลการคัดกรองพบผู้มีความผิดปกติของมะเร็งเต้านม 2 รายส่งต่อโรงพยาบาลโคกโพธิ์ ส่วนผล Pap smear ได้นำส่งตรวจที่โรงพยาบาลโคกโพธิ์ พบผู้มีเซลล์ผิดปกติจำนวน 2 ราย ส่งต่อโรงพยาบาลปัตตานี มีการอักเสบจำนวน 55 ราย ติดเชื้อราจำนวน 17 ราย และติดเชื้อแบคทีเรียจำนวน 9 ราย ในรายที่มีการอักเสบ ติดเชื่อราและเชื้อแบคทีเรีย แพทย์ได้สั่งยารักษาทุกรายและนัดตรวจซ้ำในรายที่มีการอักเสบหลังได้รับยา 6 เดือน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

1.ขั้นตอนในการจัดทำการอนุมัติโครงการหลายขั้นตอน ยุ่งยาก ทำให้โครงการดำเนินการล่าช้า และประกอบกับผู้เสนอโครงการมีประสบการณ์ในการจัดทำจัดซื้อจัดจ้างน้อย 2.ติดช่วงเทศกาลเดิอนรอมฎอน งานประเพณีต่างๆ ซึ่งกลุ่มเป้าหมายมาตรวจไม่ได้ ต้องเลื่อนเวลาทำโครงการออกมา ททำให้รระยะเวลาการดำเนินโครงการจำกัด

มีหลายขั้นตอนและผู้จัดทำมีประสบการณ์ในการทำจัดซื้อจัดจ้างน้อย

ลดขั้นตอนในการอนุมัติจัดทำโครงการ เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินการตามแผน


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ

รหัสโครงการ 62-L2981-01-02 ระยะเวลาโครงการ 1 ธันวาคม 2561 - 30 กันยายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านม ตระหนักถึงการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

เห็นถึงความความสำคัญของการตรวจคัดกรอง และเข้าร่วมรับการคัดกรอง

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

ในการดำเนินการตรวจ pap smear ได้รับการนำทีมจาก รพ.สต. โคกอ้น มาช่วยดำเนินการตรวจซึ่งกลุ่มเป้าหมายไม่รู้จักเป็นการส่วนตัวช่วยลดความเขินอายลงได้ ทำให้มีผู้เข้าร่วมโครงการครบตามเป้าหมาย

จำนวนผู้เข้าร่วมครบตามเป้าหมาย

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆที่อาจทำให้เกิดโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆที่อาจทำให้เกิดโรค เพราะการสูบุหรี่เป็นสาเหตุหนึ่งที่เสี่ยงทำให้เกิดโรคได้

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก และลดพฤติกรรมเสี่ยงต่างๆที่อาจทำให้เกิดโรค

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการมะเร็งป้องกันได้ถ้าหญิงไทยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L2981-01-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธาทิพย์ จันทคาร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด