กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ


“ ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ”

ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวยารีย๊ะ สะเลาะ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ที่อยู่ ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3042-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 เมษายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตาแกะ อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตาแกะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
(4) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นักเรียนและผู้ปกครองทุกคน ได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและการแปรงอย่างถูกวิธีสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง (3) นักเรียนทุกคนมีฟันแข็งแรง (4) นักเรียน ผู้ปกครอง ครู ชุมชนมีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการพัฒนาร่วมกับชุมชน

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพช่องปากมีความสำคุญต่อสุขภาพร่างกาย การดูแลสุขภาพช่องปากให้ดีจึงมีผลต่อการมีสุขภาพกายที่ดีด้วย แต่ปัญหาสุขภาพช่องปากนั้นไม่ได้มีสาเหตุเกิดจากภายในช่องปากเพียงอย่างเดียว แต่มีปัญหาซึ่งเกิดจากสภาพสังคมและสิ่งแวดล้อมในปัจจุบันด้วย ยกตัวอย่างเช่น โรคฟันผุ ซึ่งเป็นปัญหาในช่องปากที่พบได้ทั่วไป ก็มีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งเสริมให้เกิดโรคอื่นนอกเหนือจากโรคในช่องปาก เช่น อาจมาจากตัวบุคคลเองที่ขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องสุขภาพช่องปากและการทำความสะอาดช่องปากของตนเอง การอยู่ในครอบครัวที่ขาดการดูแลเอาใจใส่หรือสภาพความเป็นอยู่ของครับครัวที่ไม่เอื้อต่อการ ใส่ใจสุขภาพช่องปาก นอกจากนี้สื่อโฆษณาเกี่ยวกับอาหารและเครื่องดื่มก็มีอิทธิพลอย่างมากในสังคมปัจจุบัน สภาพเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมล้วนเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดโรคได้เช่นกัน ดังนั้นหากเราวางรากฐาน เรื่องสุขภาพและสุขภาพช่องปากแก่เด็กวัยเรียนพร้อมกับสอดแทรกความรู้เรื่องการแปรงฟันที่ถูกวิธี เพื่อให้เด็กนักเรียนได้ตระหนักเรื่องของทันตสุขภาพนั้นเป็นเรื่องที่ทุกคนมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบ แล้วปรับเปลี่ยน พฤติกรรม อาจจะทำให้ปัญหาช่องปากในวัยเด็กจะมีสุขภาพที่ดีขึ้น       ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก องค์การบริหารส่วนตำบลตาแกะ จึงได้คิดส่งโครงการส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก เพื่อกระตุ้นความสุนใจของผู้ปกครองและเด็กนักเรียน
ให้หันมาสนใจสุขภาพช่องปากมากยิ่งขึ้น โดยจัดกิจกรรมที่สนุก เน้นการมีส่วนร่วม สอดแทรกความรู้ต่างๆเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพช่องปาก เพื่อให้เด็กเข้าใจไปพร้อใๆกับผู้ปกครอง สามารถความรู้และประสบการณ์ ไปใช้ได้ในชีวิตประจำวัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
  2. เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  3. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
  4. เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมความรู้เรื่องความสำคัญของทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และโรคที่เกิดปัญหาทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยและวิธีการป้องกัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผู้ปกครอง 38

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
  2. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  3. นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
  4. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมความรู้เรื่องความสำคัญของทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยเพื่อสุขภาพอนามัยที่ดี สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และโรคที่เกิดปัญหาทันตสุขภาพในเด็กปฐมวัยและวิธีการป้องกัน

วันที่ 26 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการและเสนอโครงการเพื่อขออนุมัติดำเนินโครงการ
  2. ประชุมครูผู้ดูแลเด็ก ร่วมกับ อบตและคณะกรรมการศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
  3. ประสานงานวิทยากรผู้ฝึกอบรม และผูเข้าร่วมโครงการ
  4. ดำเนินโครงการตามที่กำหนด
  5. ผู้ปกครองสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธีให้กับลูก
  6. สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคที่พบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
  2. นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
  3. นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
  4. นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนและผู้ปกครองได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี
30.00 38.00

 

2 เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนและผู้ปกครองเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี
30.00 38.00

 

3 เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียนมีฟันทีสะอาดและแข็งแรง
30.00 38.00

 

4 เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
30.00 38.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 76 76
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 38 38
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ผู้ปกครอง 38 38

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) เพื่อให้นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและแปรงฟันอย่างถูกวิธี (3) เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีฟันที่สะอาดและแข็งแรง
(4) เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และชุมชน มีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) นักเรียนและผู้ปกครองทุกคน ได้เรียนรู้วิธีการดูแลสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี (2) นักเรียนและผู้ปกครองทุกคนเข้าใจวิธีการดูแลและการแปรงอย่างถูกวิธีสามารถปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง (3) นักเรียนทุกคนมีฟันแข็งแรง (4) นักเรียน ผู้ปกครอง ครู ชุมชนมีส่วนร่วมและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการพัฒนาร่วมกับชุมชน

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

รหัสโครงการ 62-L3042-3-01 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 30 เมษายน 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

ส่งเสริมและป้องกันด้านทันตสุขภาพสำหรับเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3042-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยารีย๊ะ สะเลาะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด