คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 ”
ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา มากเพ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560
ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 152,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการเพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ 10.7 ในปี 2550 (7.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 11.8 (7.5 ล้านคน) ในปี 2553 และร้อยละ 20.0 (14.5 ล้านคน) ในปี 2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) นับว่าอัตราการเข้าสู่ "ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)" เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม อัตราส่วนการเป็นภาระวัยสูงอายุ หรืออัตราพึ่งพิงวัยสูงอายุในปี 2537 เป็น 10.7 เพิ่มขึ้นเป็น 14.3 ในปี 2545 และเพิ่มขึ้นเป็น 16.0 ในปี 2550 หมายความว่าประชากรวัยทำงาน 100 คน ต้องรับภาระในการเลี้ยงดูผู้สูงอายุ 16 คน ประกอบกับสัดส่วนสูงอายุที่อยู่ตามลำพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากร้อยละ 6.3 ในปี 2545 เป็นร้อยละ 7.7 ในปี 2550 และร้อยละ 56.7 ของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังในครัวเรือน อยู่ได้โดยไม่มีปัญหา ที่เหลือร้อยละ 43.3 มีปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุด คือ รู้สึกเหงาร้อยละ 51.2 ไม่มีคนดูแลเมื่อเจ็บป่วย ร้อยละ 27.5 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ 52.2 และต้องมีคนดูแลตลอดเวลาร้อยละ 10.2 (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,2547) จากมุมมองผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้ โดยเฉพาะคือ ดร.วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ ที่ปรึกษาด้านหลักประกันทางสังคมสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และ พ.ญ.ลัดดา ดำริการเลิศ เลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส.ผส.) เพื่อสะท้อนถึงการเตรียมความพร้อมของภาครัฐ เป็นระเบิดเวลาลูกใหญ่ ที่งวดเข้ามาทุกที ปัญหาที่ประเทศไทยกำลังเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์"ในอีก 8 ปีข้างหน้า หรือปี 2564 ที่จะมีถึง 1 ใน 5 จากที่ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมาแล้วโดยมีสัดส่วนคนอายุ 60 ปีขึ้นไปถึง 10% เมื่อปี 2543 (ตามนิยามองค์การสหประชาชาติ) และคาดว่าจะเป็นสังคมระดับสุดยอด คือมากถึง 30% ในอีก 20 ปี หรือปี 2578
อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี2550 พบว่าร้อยละ 69.3 ของประชากรในกลุ่มอายุ 60 - 69 ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นและเพิ่มขึ้นเป็น 83.3 ในกลุ่มที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป โดยภาวะการเจ็บป่วยโดยเรื้อรัง 6 โรคพร้อมกันถึงร้อยละ 70.8 และหนึ่งในสี่ของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพจากปัญหาสุขภาพเป็นเหตุให้ไม่สามารถทำกิจกรรมที่เคยทำได้ ร้อยละ 18.9 มีปัญหาสุขภาพเหล่านี้นาน 6 เดือน เป็นภาวะทุพพลภาพระยะยาว เป็นเหตุให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูงและต้องการคนดูแลตลอดเวลา
จากการดำเนินงานโครงการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสใน 3 ปี ที่ผ่านมาของตำบลหนองบัว(ปี 2557 - 2559) พบผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมด(คิดจากทะเบียนราษฎร์)ร้อยละ 10.78, 37.27 และ43.09 กลุ่มเสี่ยงโรคเรื่อรังร้อยละ 28.84 , 17.92 และ 16.63 ผู้ป่วยรายใหม่ 3.15 ,3.96 และ 2.65 และจากการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีกลุ่มผู้ป่วยติดเตียงรายใหม่ 5 , 3 และ 3 ร้อยละ 1.37, 0.58 และ 0.53
แต่จากการทำโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุใน 3 ปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าอัตราผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมดมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งได้สังคมผู้สูงอายุแล้ว และร้อยละผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจาเป็นยอดสะสม แต่ร้อยละของผู้ป่วยรายใหม่ และกลุ่มเสี่ยงลดลงแต่ทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยที่มีอยู่ ณ ปัจจุบัน ถ้าไม่ได้รับการเฝ้าระวังดูแลอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะก้าวไปสู่ผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้และรัฐก็จะต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยเหล่านี้ปีละประมาณ 2,000,000 บาท จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวได้ปรับรูปแบบการดำเนินงานดูแลเป็นรูปแบบการจัดมหกรรมคัดกรอง ส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียวโดยให้มีสิ่งจูงใจ และกระตุ้นให้เกิดพลังทางบวกที่จะพัฒนาพฤติกรรมเพื่อลดโรค และความรุนแรงของโรคและเฝ้าระวังสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุในตำบลหนองบัวได้รับการดูแลและพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น ทั้งผู้ป่วยรายใหม่ลดลง กลุ่มเสี่ยงรายใหม่ลดลงและผู้ป่วยติดเตียงลดลง
จึงน่าจะเป็นแนวทางที่ดีที่จะดำเนินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในตำบลหนองบัวเช่นปีที่ผ่านมาเพื่อดูแลผู้สูงอายุตำบลหนองบัวให้อยู่ในสังคมยาวนานขึ้น และอยู่ในภาวะพึ่งพิงน้อยลงผู้สูงอายุดูแลตัวเองได้อย่างดี ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดอย่างมีคุณภาพจึงจะทำให้สังคมผู้สูงอายุตำบลหนองบัวเป็นสังคมที่มีสุขภาวะได้อย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่
- เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม.
- ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม.
- เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
- ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ
- เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุตำบลหนองบัวได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer อย่างต่อเนื่อง ทั้งในสถานบริการ ด้านการคัดกรอง ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพในชุมชนโดยทีมสหวิชาชีพและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.)ในชุมชนที่ผ่านการอบรม และดูแลต่อเนื่องอย่างใกล้ชิดในรายที่มีภาวะพิ่งพิงโดย Care Giver ส่งผลให้ผู้สูงอายุกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง สามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นและผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพพัฒนาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันจากมีภาวะติดเตียงเป็นติดบ้านและจากติดบ้านเป็นติดสังคม ลดกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และลดความรุนแรงของโรคลงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
1. มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม.
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560กิจกรรมที่ทำ
- จัดงานมหกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจ มอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวโดยทีมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวร่วมกับ อสม. และ อผส. และบุคลากรสาธารณสุขจากหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรม ดังนี้
1.1 รณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
- ลงทะเบียน รับบัตรคิว
- ซักประวัติ คัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ
- คัดกรอง ADL ทุกคน
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
- ตรวจสุขภาพช่องปาก
- ประเมินสุขภาพจิต
- ตรวจสายตา
- รับสมัครและคัดเลือกผู้ที่ต้องเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต
- จัดงานมหกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจ มอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวโดยทีมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวร่วมกับ อสม. และ อผส. และบุคลากรสาธารณสุขจากหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรม ดังนี้
1.1 รณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
- ลงทะเบียน รับบัตรคิว
- ซักประวัติ คัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ
- คัดกรอง ADL ทุกคน
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
- ตรวจสุขภาพช่องปาก
- ประเมินสุขภาพจิต
- ตรวจสายตา
- รับสมัครและคัดเลือกผู้ที่ต้องเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- จัดงานมหกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจ มอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวโดยทีมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวร่วมกับ อสม. และ อผส. และบุคลากรสาธารณสุขจากหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรม ดังนี้
1.1 รณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
- ตรวจสุขภาพช่องปาก
- ประเมินสุขภาพจิต
- ตรวจสายตา
- รับสมัครและคัดเลือกผู้ที่ต้องเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต
- จัดงานมหกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจ มอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวโดยทีมเจ้าหน้าที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวร่วมกับ อสม. และ อผส. และบุคลากรสาธารณสุขจากหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรม ดังนี้
1.1 รณรงค์ตรวจคัดกรองสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ
- ลงทะเบียน รับบัตรคิว
- ซักประวัติ คัดกรองโดยใช้แบบคัดกรองสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ
- คัดกรอง ADL ทุกคน
- ชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดรอบเอว เพื่อประเมินภาวะโภชนาการ
- ตรวจวัดความดันโลหิต
- ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด
- ตรวจสุขภาพช่องปาก
- ประเมินสุขภาพจิต
- ตรวจสายตา
- รับสมัครและคัดเลือกผู้ที่ต้องเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต3
600
0
2. ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ
วันที่ 9 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ จำนวน 9 คน เดือนละครั้ง เป็นเวลา 5 เดือน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ จำนวน 9 คน เดือนละครั้ง เป็นเวลา 5 เดือน
9
0
3. เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
วันที่ 24 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
- จัดกิจกรรมเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน พิชิตโรค เพื่อการปฏิวัติพฤติกรรมสุขภาพ ให้ถูกต้องลดเสี่ยงลดโรคที่เกิดจากพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3 อ. 2ส. ในกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
1.1 เข้าค่ายแบบพักแรม 2 วัน 2 คืน
- ตรวจหาระดับไขมันในเลือดกลุ่มเข้าค่าย ก่อนเริ่มกิจกรรมค่าย
- อบรมให้ความรู้หลักการปฏิวัติชีวิต
- สวดมนต์ นั่งสมาธิ ฟังธรรม
- ออกกำลังกาย
- สาธิตการทำน้ำผักแลพผลไม้สดรสไม่หวาน
- จัดทำอาหารเมนูลดอ้วนลดโรค
- กิจกรรมรอบกองไฟเพื่อส่งเสริมสุขภาพกายและจิต
1.2 เข้าค่ายต่อเนื่องทุกวันด้วยกิจกรรม ปั่น-ดื่ม-ฟิต และฝึกจิต ตั้งแต่เวลา 15.30 น. - 18.00 น.
- ปั่นและดื่มน้ำผักทุกวัน
- ออกกำลังกายตามโปรแกรมทุกวัน
- หยุดกิจกรรม ปั่น-ดื่ม - ฟิต ทุกวันพระ
- ฝึกจิตตามอัธยาสัยและเข้าชั้นเรียนตามโปรแกรมทุกวันพระ
- ประเมินผลการปฏิวัติชีวิตด้วยการชั่งน้ำหนักวัดรอบเอววัดความดันโลหิตตรวจระดับน้ำตาลและไขมันในเลือด
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
- เข้าค่ายปฏิวัติชีวิตพิชิตอ้วนพิชิตโรค 2 วัน
- ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน พิชิตโรคไม่น้อยกว่า 70 คน
- กลุ่มเสี่ยงที่เป็นสมาชิกวิสามัญชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน พิชิตโรคไม่น้อยกว่า 30 คน
100
0
4. ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม.
วันที่ 27 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. จำนวน 186 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. จำนวน 186 คน
186
0
5. เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
วันที่ 27 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
อสม. ปฏิบัติงานเฝ้าระวังติดตามสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 124 คน
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
อสม. ปฏิบัติงานเฝ้าระวังติดตามสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 124 คน
100
0
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดมหกรรมสุขภาพวาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวในวันแห่งความรัก 1 วัน
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองในวันแห่งความรัก จำนวน 400 คน
- ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิตพิชิตอ้วนพิชิตโรคไม่น้อยกว่า 70 คน จำนวน 2 วัน
- กลุ่มเสี่ยงที่เป็นสมาชิกวิสามัญชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิตพิชิตอ้วนพิชิตโรคไม่น้อยกว่า 30 คน
- ตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่บ้าน โดย อสม. จำนวน 186 คน
- สำรวจ (ADL) เพื่อจัดแบ่งกลุ่มในการดูแลสุขภาพ จำนวน 586 คน
- เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงหลังการรณรงค์คัดกรองครบ 6 เดือน จำนวน 124 คน
- ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และผู้พิการโดยทีม อผส.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เดือนละ จำนวน 9 คน 5 ครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด :
4
เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่
ตัวชี้วัด :
5
เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
600
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
600
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (4) เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่ (5) เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม. (2) ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. (3) เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง (4) ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ (5) เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางมาริสา มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 ”
ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
นางมาริสา มากเพ็ง
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลหนองบัว อำเภอรัษฏา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 152,560.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.หนองบัว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันความก้าวหน้าด้านการเพทย์และสาธารณสุข ส่งผลให้จำนวนและสัดส่วนของประชากรผู้สูงอายุไทยเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วโดยสัดส่วนประชากรสูงอายุเพิ่มจากร้อยละ 10.7 ในปี 2550 (7.0 ล้านคน) เป็นร้อยละ 11.8 (7.5 ล้านคน) ในปี 2553 และร้อยละ 20.0 (14.5 ล้านคน) ในปี 2568 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) นับว่าอัตราการเข้าสู่ "ภาวะประชากรสูงอายุ (Population Ageing)" เร็วมาก ซึ่งหมายความว่าประเทศไทยมีเวลาสั้นมากที่จะเตรียมการเพื่อรองรับประชากรผู้สูงอายุ ทั้งในด้านสุขภาพ เศรษฐกิจ และสังคม อัตราส่วนการเป็นภาระวัยสูงอายุ หรืออัตราพึ่งพิงวัยสูงอายุในปี 2537 เป็น 10.7 เพิ่มขึ้นเป็น 14.3 ในปี 2545 และเพิ่มขึ้นเป็น 16.0 ในปี 2550 หมายความว่าประชากรวัยทำงาน 100 คน ต้องรับภาระในการเลี้ยงดูผู้สูงอายุ 16 คน ประกอบกับสัดส่วนสูงอายุที่อยู่ตามลำพังในครัวเรือนมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น จากร้อยละ 6.3 ในปี 2545 เป็นร้อยละ 7.7 ในปี 2550 และร้อยละ 56.7 ของผู้สูงอายุที่อยู่ตามลำพังในครัวเรือน อยู่ได้โดยไม่มีปัญหา ที่เหลือร้อยละ 43.3 มีปัญหา ซึ่งปัญหาที่พบมากที่สุด คือ รู้สึกเหงาร้อยละ 51.2 ไม่มีคนดูแลเมื่อเจ็บป่วย ร้อยละ 27.5 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2551) ผู้สูงอายุต้องการผู้ดูแลในการทำกิจกรรมประจำวัน จากการตรวจสุขภาพโดยการตรวจร่างกายพบว่าผู้สูงอายุวัยปลาย (อายุ 80 ปีขึ้นไป) ต้องมีคนดูแลบางเวลาร้อยละ 52.2 และต้องมีคนดูแลตลอดเวลาร้อยละ 10.2 (เยาวรัตน์ ปรปักษ์ขาม,2547) จากมุมมองผู้เชี่ยวชาญเรื่องนี้ โดยเฉพาะคือ ดร.วรวรรณ ชาญด้วยวิทย์ ที่ปรึกษาด้านหลักประกันทางสังคมสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) และ พ.ญ.ลัดดา ดำริการเลิศ เลขาธิการมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย(มส.ผส.) เพื่อสะท้อนถึงการเตรียมความพร้อมของภาครัฐ เป็นระเบิดเวลาลูกใหญ่ ที่งวดเข้ามาทุกที ปัญหาที่ประเทศไทยกำลังเข้าสู่ "สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์"ในอีก 8 ปีข้างหน้า หรือปี 2564 ที่จะมีถึง 1 ใน 5 จากที่ไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุมาแล้วโดยมีสัดส่วนคนอายุ 60 ปีขึ้นไปถึง 10% เมื่อปี 2543 (ตามนิยามองค์การสหประชาชาติ) และคาดว่าจะเป็นสังคมระดับสุดยอด คือมากถึง 30% ในอีก 20 ปี หรือปี 2578
อายุยิ่งสูงยิ่งเจ็บป่วย จากการสำรวจสำนักงานสถิติแห่งชาติ ปี2550 พบว่าร้อยละ 69.3 ของประชากรในกลุ่มอายุ 60 - 69 ปี เป็นโรคเรื้อรังและพบเพิ่มขึ้นเมื่ออายุมากขึ้นและเพิ่มขึ้นเป็น 83.3 ในกลุ่มที่มีอายุ 90 ปีขึ้นไป โดยภาวะการเจ็บป่วยโดยเรื้อรัง 6 โรคพร้อมกันถึงร้อยละ 70.8 และหนึ่งในสี่ของผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพจากปัญหาสุขภาพเป็นเหตุให้ไม่สามารถทำกิจกรรมที่เคยทำได้ ร้อยละ 18.9 มีปัญหาสุขภาพเหล่านี้นาน 6 เดือน เป็นภาวะทุพพลภาพระยะยาว เป็นเหตุให้มีค่าใช้จ่ายในการดูแลสูงและต้องการคนดูแลตลอดเวลา
จากการดำเนินงานโครงการเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสใน 3 ปี ที่ผ่านมาของตำบลหนองบัว(ปี 2557 - 2559) พบผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมด(คิดจากทะเบียนราษฎร์)ร้อยละ 10.78, 37.27 และ43.09 กลุ่มเสี่ยงโรคเรื่อรังร้อยละ 28.84 , 17.92 และ 16.63 ผู้ป่วยรายใหม่ 3.15 ,3.96 และ 2.65 และจากการดูแลผู้ป่วยติดบ้าน ติดเตียง มีกลุ่มผู้ป่วยติดเตียงรายใหม่ 5 , 3 และ 3 ร้อยละ 1.37, 0.58 และ 0.53
แต่จากการทำโครงการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุใน 3 ปีที่ผ่านมาจะเห็นได้ว่าอัตราผู้สูงอายุต่อประชากรทั้งหมดมีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งได้สังคมผู้สูงอายุแล้ว และร้อยละผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มสูงขึ้นเนื่องจาเป็นยอดสะสม แต่ร้อยละของผู้ป่วยรายใหม่ และกลุ่มเสี่ยงลดลงแต่ทั้งกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยที่มีอยู่ ณ ปัจจุบัน ถ้าไม่ได้รับการเฝ้าระวังดูแลอย่างต่อเนื่อง ก็มีโอกาสที่จะก้าวไปสู่ผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงได้และรัฐก็จะต้องรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาผู้ป่วยเหล่านี้ปีละประมาณ 2,000,000 บาท จากการดำเนินงานในปีที่ผ่านมาทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัวได้ปรับรูปแบบการดำเนินงานดูแลเป็นรูปแบบการจัดมหกรรมคัดกรอง ส่งเสริม และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ แบบเบ็ดเสร็จในขั้นตอนเดียวโดยให้มีสิ่งจูงใจ และกระตุ้นให้เกิดพลังทางบวกที่จะพัฒนาพฤติกรรมเพื่อลดโรค และความรุนแรงของโรคและเฝ้าระวังสุขภาพอย่างต่อเนื่อง จะเห็นได้ว่าปัญหาสุขภาพของผู้สูงอายุในตำบลหนองบัวได้รับการดูแลและพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้น ทั้งผู้ป่วยรายใหม่ลดลง กลุ่มเสี่ยงรายใหม่ลดลงและผู้ป่วยติดเตียงลดลง
จึงน่าจะเป็นแนวทางที่ดีที่จะดำเนินการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุในตำบลหนองบัวเช่นปีที่ผ่านมาเพื่อดูแลผู้สูงอายุตำบลหนองบัวให้อยู่ในสังคมยาวนานขึ้น และอยู่ในภาวะพึ่งพิงน้อยลงผู้สูงอายุดูแลตัวเองได้อย่างดี ได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิดอย่างมีคุณภาพจึงจะทำให้สังคมผู้สูงอายุตำบลหนองบัวเป็นสังคมที่มีสุขภาวะได้อย่างยั่งยืนต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม
- เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน
- เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม
- เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่
- เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม.
- ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม.
- เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง
- ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ
- เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 600 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้สูงอายุตำบลหนองบัวได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer อย่างต่อเนื่อง ทั้งในสถานบริการ ด้านการคัดกรอง ส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสุขภาพในชุมชนโดยทีมสหวิชาชีพและอาสาสมัครดูแลผู้สูงอายุ(อผส.)ในชุมชนที่ผ่านการอบรม และดูแลต่อเนื่องอย่างใกล้ชิดในรายที่มีภาวะพิ่งพิงโดย Care Giver ส่งผลให้ผู้สูงอายุกลุ่มปกติและกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง สามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นและผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพพัฒนาการปฏิบัติกิจวัตรประจำวันจากมีภาวะติดเตียงเป็นติดบ้านและจากติดบ้านเป็นติดสังคม ลดกลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย และลดความรุนแรงของโรคลงได้
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง | |
1. มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม. |
||
วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2560กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
600 | 0 |
2. ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ |
||
วันที่ 9 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ จำนวน 9 คน เดือนละครั้ง เป็นเวลา 5 เดือน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ จำนวน 9 คน เดือนละครั้ง เป็นเวลา 5 เดือน
|
9 | 0 |
3. เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย |
||
วันที่ 24 มีนาคม 2560กิจกรรมที่ทำ
ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
|
100 | 0 |
4. ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. |
||
วันที่ 27 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. จำนวน 186 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. จำนวน 186 คน
|
186 | 0 |
5. เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง |
||
วันที่ 27 ตุลาคม 2560กิจกรรมที่ทำอสม. ปฏิบัติงานเฝ้าระวังติดตามสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 124 คน ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นอสม. ปฏิบัติงานเฝ้าระวังติดตามสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานความดันโลหิตสูง จำนวน 124 คน
|
100 | 0 |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
- จัดมหกรรมสุขภาพวาเลนไทม์ 2560 ร้อยรัก ร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในตำบลหนองบัวในวันแห่งความรัก 1 วัน
- ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองในวันแห่งความรัก จำนวน 400 คน
- ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิตพิชิตอ้วนพิชิตโรคไม่น้อยกว่า 70 คน จำนวน 2 วัน
- กลุ่มเสี่ยงที่เป็นสมาชิกวิสามัญชมรมผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการเข้าค่ายปฏิวัติชีวิตพิชิตอ้วนพิชิตโรคไม่น้อยกว่า 30 คน
- ตรวจคัดกรองภาวะสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่บ้าน โดย อสม. จำนวน 186 คน
- สำรวจ (ADL) เพื่อจัดแบ่งกลุ่มในการดูแลสุขภาพ จำนวน 586 คน
- เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงหลังการรณรงค์คัดกรองครบ 6 เดือน จำนวน 124 คน
- ติดตามเยี่ยมผู้สูงอายุกลุ่มที่ 2 (ติดบ้าน) และผู้พิการโดยทีม อผส.ร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข เดือนละ จำนวน 9 คน 5 ครั้ง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่ ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 600 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 600 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการเฝ้าระวังคัดกรอง ดูแลสุขภาพองค์รวม (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุทุกกลุ่มได้รับการดูแลแบบ Long Term Caer (ระยะยาว) กลุ่มที่ 1 ที่ 2 และกลุ่มเสี่ยงกลุ่มป่วยด้วยโรคเรื้อรังสามารถดูแลสุขภาพตัวเองเบื้องต้นได้ กลุ่มติดบ้านติดเตียงได้รับการดูแลโดยสหวิชาชีพและ อผส. กลุ่มติดเตียงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษได้รับการดูแลโดยCare Giver อย่างต่อเนื่องทุกวัน (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับภาวะสุขภาพและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม (4) เพื่อลดอัตราผู้ป่วยที่มีภาวะพึ่งพิงรายใหม่ (5) เพื่อให้ประชาชนวัยทำงานตามเป้าหมายเข้าสู่วัยผู้สูงอายุโดยปราศจากโรค
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) มหกรรมคัดกรองส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุทั้งตำบลในวันแห่งความรักภายใต้คอนเชปต์ วาเลนไทม์ 2560 คนสาธารณสุขร้อยรักร้อยใจมอบแด่ผู้สูงวัยในหนองบัวและตรวจคัดกรองที่บ้านโดย อสม. (2) ตรวจคัดกรองสุขภาพอันพึงประสงค์ของผู้สูงอายุที่โดย อสม. (3) เฝ้าระวังติดตามตรวจสุขภาพผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง (4) ติดตาม เยี่ยมบ้าน เยี่ยมใจ ใกล้เตียง ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน และผู้พิการ (5) เข้าค่ายปฏิวัติชีวิต พิชิตอ้วน ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วย
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
คนสาธารณสุขร้อยรัก รวมใจ ดูแลคนสูงวัยสู่สังคมสูงอายุสุขภาวะอย่างภาคภูมิโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองบัว ปี 2560 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางมาริสา มากเพ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......