กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน


“ โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย ”

ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นายอับดลรอเช็ค ยาติกุล

ชื่อโครงการ โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย

ที่อยู่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-2-13 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านควน อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5307-2-13 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,350.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านควน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสถานการณ์ที่ผ่านมาในแต่ละปีตำบลบ้านควนมีอัตราการเสียชีวิตของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีจากอุบัติเหตุทางน้ำในอัตราที่สูงมากเมื่อเทียบกับการเสียชีวิตทุกสาเหตุและในเขตพื้นที่ตำบลบ้านควนมีรายงานเด็กเกิดอุบัติเหตุทางน้ำและเสียชีวิตเนื่องจากในพื้นที่ดังกล่าวมีแหล่งน้ำ ที่เด็กสามารลงเล่นน้ำได้อีกทั้งในฤดูฝนจะมีน้ำท่วมขังในระดับสูงโดยเด็กและผู้ปกครองไม่ตระหนักึงอันตรายของการเล่นน้ำและไม่รู้วิธีช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นเมื่อเกิดอุบัติเหตุทางน้ำ
ดังนั้นทางสมาชิก อปพร. อบต.บ้านควนได้เห็นความสำคัญจึงร่วมจัดโครงการว่ายน้ำเพื่อชีวิตแก่นักเรียนเพื่อสร้างความปลอดภัยทางน้ำแก่นักเรียนรู้จักสามารถช่วยชีวิตผู้ประสบเหตุทางน้ำได้ถูกต้องตามวิธีมาตรฐานสากล โดยจะจัดให้มีการฝึกว่ายน้ำแก่นักเรียนในวันที่ 1 เดือนมีนาคม พ.ศ. 2562 ถึง วันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อฝึกหัดเด็กอายุระหว่าง 8- 12 ปี ที่ว่ายน้ำไม่ได้ให้สามารถว่ายน้ำได้และเอาชีวิตรอดจากการเสียชีวิตเมื่อประสบเหตุทางน้ำ
  2. เด็กที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำ และวิธีการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อจมน้ำ
  3. ผู้ปกครองให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมกับบุตรหลานของตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ (ภาคบรรยาย) โดยทีมวิทยกร
  2. ฝึกภาคปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาตัวรอดและทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีมวิทยากร
  3. ฝึกปฏิบัติ ทบทวน ทักษะการช่วยเหลือตนเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีม อปพร. จำนวน 4ครั้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ตัวแทนผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย 70

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.เด็กที่เข้าร่วมโครงการสามารถว่ายน้ำหรือเอาลอยตัวในน้ำได้
2. ลดการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุระหว่าง 8- 12 ปี พื้นที่ตำบลบ้านควนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ (ภาคบรรยาย) โดยทีมวิทยกร

วันที่ 23 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

คดเลือกเด็กกลุ่มเสี่ยงจำนวน หมู่ละ 10 คน จำนวน 7 หมู่บ้าน และผู้ปกครองเข้าร่วมฟังอบรม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดการจัดอบรมเชิงทฤษฎี โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย วันที่ 23 เมษายน 2562  ห้องประชุม อบต.บ้านควน เวลา 09.00น. – 16.00 น.

08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 น. - 11.00 น. อบรมให้ความรู้เรื่อง สิ่งแวดล้อมที่เสี่ยงกับการจมน้ำ และการหลีกเลี่ยงตนเองให้ ปลอดภัยจากการจมน้ำ โดยนายสาโรจน์  ศรีน้อย 11.00 น. – 12.00 น. อธิบายอุปกรณ์ในช่วยคนจมน้ำและท่าทางการลอยตัวในน้ำ ทักษะการเอาตัวรอดเมื่อจมน้ำ  โดยนางสาวชุติมา บุญเรือง 12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 14.00 น. อธิบายอุปกรณ์ในช่วยคนจมน้ำและท่าทางการลอยตัวในน้ำ (ต่อ) โดยนางสาวชุติมา บุญเรือง 14.00 น. – 16.00 น. สอนและฝึกปฏิบัติทักษะการช่วยเหลือผู้ป่วยหมดสติ (CPR) และการขอความช่วยเหลือจากผู้อื่น โดย นายอำนวย  อานับ 16.20 น. ปิดการประชุม

หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างเวลา  10.30 น. และ 15.00 น.

 

72 0

2. ฝึกภาคปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาตัวรอดและทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีมวิทยากร

วันที่ 24 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

จัดฝึกภาคปฏิบัติที่สระว่ายน้ำ จำนวน 2 วัน แบ่งตามกลุ่ม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กำหนดฝึกว่ายน้ำ โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย วันที่ 24  เมษายน 2562  สระว่ายน้ำวรรณศิริ    เวลา 09.00น. – 16.00 น. 08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 น. - 12.00 น. ฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 1  โดย  นายสาโรจน์  ศรีน้อย
นางสาวชุติมา บุญเรือง  นายอำนวย  อานับ ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู  นายมุสตอฟา  สุมาตรา   นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ  นางเจ๊ะสานี  การังงัน
  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล  นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 16.00 น. ฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 2  โดย  นายสาโรจน์  ศรีน้อย
                        นางสาวชุติมา บุญเรือง  นายอำนวย  อานับ ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู  นายมุสตอฟา  สุมาตรา   นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ  นางเจ๊ะสานี  การังงัน
    นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล  นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างเวลา  10.30 น. และ 15.00 น.


กำหนดฝึกว่ายน้ำ โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย วันที่ 25  เมษายน 2562  สระว่ายน้ำวรรณศิริ  09.00น. – 16.00 น. 08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 น. - 12.00 น. ฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 3  โดย  นายสาโรจน์  ศรีน้อย
นางสาวชุติมา บุญเรือง  นายอำนวย  อานับ ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู  นายมุสตอฟา  สุมาตรา   นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ  นางเจ๊ะสานี  การังงัน
  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล  นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 16.00 น. ฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 4  โดย  นายสาโรจน์  ศรีน้อย
                        นางสาวชุติมา บุญเรือง  นายอำนวย  อานับ ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู  นายมุสตอฟา  สุมาตรา   นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ  นางเจ๊ะสานี  การังงัน
    นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล  นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างเวลา  10.30 น. และ 15.00 น.

 

140 0

3. ฝึกปฏิบัติ ทบทวน ทักษะการช่วยเหลือตนเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีม อปพร. จำนวน 4ครั้ง

วันที่ 20 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ฝึกทบทวนการว่ายน้ำโดยทีมพี่เลี้ยง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย วันที่ 20  กรกฎาคม 2562  คลองมำบัง หมู่ที่ 6  เวลา 09.00น. – 16.00 น. 08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 น. - 12.00 น. ทบทวนฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 1 ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู
    นายมุสตอฟา  สุมาตรา  นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ
    นางเจ๊ะสานี  การังงัน  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล
    นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 16.00 น. ทบทวนฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 2 ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู
    นายมุสตอฟา  สุมาตรา  นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ
    นางเจ๊ะสานี  การังงัน  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล
    นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างเวลา  10.30 น. และ 15.00 น.


กำหนดฝึกทบทวนการลอยตัวในน้ำ โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย วันที่ 21  กรกฎาคม 2562  คลองมำบัง หมู่ที่ 6  เวลา 09.00น. – 16.00 น. 08.30 น. – 09.00 น. ลงทะเบียน
09.00 น. - 12.00 น. ทบทวนฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 3 ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู
    นายมุสตอฟา  สุมาตรา  นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ
    นางเจ๊ะสานี  การังงัน  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล
    นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
12.00 น. – 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น. – 16.00 น. ทบทวนฝึกการลอยตัวในน้ำและช่วยเหลือตัวเองในน้ำ กลุ่มที่ 4 ทีมพี่เลี้ยง นายนิมิตร  อาดำ  นายอิสมาแอล  ปิยาตู
    นายมุสตอฟา  สุมาตรา  นางสาวภัทรวรรณ  ยะโกบ
    นางเจ๊ะสานี  การังงัน  นายอับดุลรอเช็ค  ยาติกุล
    นายอะนัส  กาสา  นางสาวรอณา  ดาหลี
หมายเหตุ  พักรับประทานอาหารว่างเวลา  10.30 น. และ 15.00 น.

 

78 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อฝึกหัดเด็กอายุระหว่าง 8- 12 ปี ที่ว่ายน้ำไม่ได้ให้สามารถว่ายน้ำได้และเอาชีวิตรอดจากการเสียชีวิตเมื่อประสบเหตุทางน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กที่เข้าร่วมโครงการ สามารถช่วยเหลือตัวเองจากการจมน้ำได้เมื่อประสบเหตุ อย่างน้อยร้อยละ 90
0.00 100.00

 

2 เด็กที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำ และวิธีการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อจมน้ำ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของเด็กที่เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในเนื้อหาการอบรม ผ่านเกณฑ์ อย่างน้อย ร้อยละ 95
100.00

 

3 ผู้ปกครองให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมกับบุตรหลานของตนเอง
ตัวชี้วัด : (ร้อยละ) ผู้ปกครองให้ความสนใจในการเข้าร่วมกิจกรรมอบรมภาคทฤษฎีและฝึกปฏิบัติ อย่างน้อย ร้อยละ 80
85.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 140
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 70
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
ตัวแทนผู้ปกครองเด็กกลุ่มเป้าหมาย 70

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อฝึกหัดเด็กอายุระหว่าง 8- 12 ปี ที่ว่ายน้ำไม่ได้ให้สามารถว่ายน้ำได้และเอาชีวิตรอดจากการเสียชีวิตเมื่อประสบเหตุทางน้ำ (2) เด็กที่เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจในการช่วยเหลือตนเองเมื่อจมน้ำ และวิธีการช่วยเหลือผู้อื่นเมื่อจมน้ำ (3) ผู้ปกครองให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรมกับบุตรหลานของตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ (ภาคบรรยาย) โดยทีมวิทยกร (2) ฝึกภาคปฏิบัติการว่ายน้ำเพื่อเอาตัวรอดและทักษะการช่วยเหลือตัวเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีมวิทยากร (3) ฝึกปฏิบัติ ทบทวน ทักษะการช่วยเหลือตนเองไม่ให้จมน้ำ โดยทีม อปพร. จำนวน 4ครั้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการว่ายน้ำได้ เพื่อชีวิตปลอดภัย จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5307-2-13

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายอับดลรอเช็ค ยาติกุล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด