กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต


“ โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562 ”

ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์

ชื่อโครงการ โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562

ที่อยู่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-6 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโฆษิต อำเภอตากใบ จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2482-1-6 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.โฆษิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็ง เป็นปัญหาทุกประเทศทั่วโลก ในปัจจุบัน การควบคุมโรคมะเร็งมีเป้าหมาย เพื่อลดอุบัติการณ์ของการเกิดความทุกข์ทรมานและการตายจากโรคมะเร็ง โดยเฉพาะประเทศกำลังพัฒนา เนื่องจากยังไม่มีโปรแกรมการตรวจคัดกรอง (Screening program) ที่มีประสิทธิผลดีพอในการตรวจหารอยโรคในระยะก่อนเป็นมะเร็ง(Pre – cancerous lesions) และให้การรักษาก่อนที่จะกลายเป็นระยะลุกลาม (Invasive cancer) รวมถึงประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ โดยเฉพาะโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับหนึ่งของมะเร็งในสตรี ซึ่งที่ผ่านมาใช้วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกด้วยการตรวจ Pap Smear และหากทำทุก ๒ ปี สามารถลดการเป็นมะเร็งระยะลุกลามได้ ๙๒ % ถึงแม้กระบวนการตรวจเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูก จะง่าย สะดวก ราคาถูก แต่ยังพบว่าสตรีจำนวนมากไม่เห็นความสำคัญ มีทัศนคติ ที่ไม่ดีต่อการตรวจ Pap Smear จากสถิติ รายงานว่า 30% ของผู้หญิงไทย ไม่เคยได้เข้ารับการตรวจแปปสเมียร์เพื่อคัดกรองหาเชื้อมะเร็งปากมดลูกเลย เพราะจากความประมาทเพราะคิดว่าตนเองไม่มีความเสี่ยง แล้วจะเป็นโรคนี้ได้อย่างไร? รวมทั้งสตรีกลุ่มเป้าหมายของตำบลโฆษิตด้วย แต่ในความเป็นจริง ผู้หญิงทุกคนที่เคยผ่านการมีเพศสัมพันธ์มาแล้วมีโอกาสที่จะเป็นมะเร็งปากมดลูกได้ทั้งสิ้น แม้จะเป็นเพศสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นเพียงครั้งเดียวก็ตาม !!       เป้าหมายที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้คือสตรีอายุ 30 – 60 ปีต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ในรอบ 5 ปี ครบร้อยละ 100 จากผลการดำเนินงานของจังหวัดนราธิวาสสามารถดำเนินการได้น้อยมาก ซึ่งไม่ต่างจากอำเภอตากใบที่ดำเนินการได้ร้อยละ 50.25 ในรอบ 5 ปี และ และรพ.สต.บ้านโคกมือบาดำเนินการได้เพียงร้อยละ 73.65 ในรอบ 5 ปี ซึ่งเป้าหมายต้องได้ร้อยละ 100 ในรอบ 5 ปี (ระยะเวลาดำเนินการ ปี2558 – 2562)     ดังนั้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านโคกมือบา ตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมและการป้องกันโรคให้กับประชาชน เพื่อ ลดค่าใช้จ่ายในการักษาโรค ตลอดจนทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการดูแลรักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูก จึงได้จัดทำโครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562 ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  3. เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องตน
  4. เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
  5. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมจัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. สตรีกลุ่มเป้าหมายเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยการตรวจเต้านมเป็นประจำทุกเดือนด้วยตนเองได้
  2. สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเกณฑ์กำหนด
  3. สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับการส่งต่อเมื่อรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้อัตราการเกิด โรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมจัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

วันที่ 24 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ให้ความรู้สาเหตุของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม
  • ให้ความรู้เรื่องการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้ามนม
  • ให้ความรู้แนวทางการรักษามะเร็งระยะที่ 1 และระยะที่ 2
  • ให้ความรู้แนวทางการรักษามะเร็งระยะที่ 3และระยะที่ 4

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • สตรีวัยเจริญพันธ์ ในพื้นที่รับผิดชอบ ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และรับฟังสุขศึกษาเรื่องอันตรายจากมะเร็งปากมดลูก จำนวน 100 คน
  • สตรีวัยเจริญพันธ์ในพื้นที่รับผิดชอบ ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ 97.63
  • จากการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมพบผู้สงสัยป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านม 1 ราย
  • ผู้สงสัยป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้ามนม ได้รับการวินิจฉัย เป็นมะเร็งเต้านม 1 ราย
  • สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 13.59
  • จากการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่พบสตรีที่มีความผิดปกติ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • สตรีวัยเจริญพันธ์ ในพื้นที่รับผิดชอบ ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง และรับฟังสุขศึกษาเรื่องอันตรายจากมะเร็งปากมดลูก จำนวน 100 คน
  • สตรีวัยเจริญพันธ์ในพื้นที่รับผิดชอบ ตรวจมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ 97.63
  • จากการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมพบผู้สงสัยป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้านม 1 ราย
  • ผู้สงสัยป่วยด้วยโรคมะเร็งเต้ามนม ได้รับการวินิจฉัย เป็นมะเร็งเต้านม 1 ราย
  • สตรีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวน 70 คน คิดเป็นร้อยละ 13.59
  • จากการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ไม่พบสตรีที่มีความผิดปกติ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 - 60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา เข้าร่วมอบรมจำนวน 100 คน
90.00

 

2 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 - 60 ปีที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 20
20.00

 

3 เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องตน
ตัวชี้วัด : สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องตนร้อยละ 90
90.00

 

4 เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์
100.00

 

5 เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง
ตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรงไม่เกินร้อยละ 5
5.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100 100
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่ยังไม่รับตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายใน 5 ปี ที่ผ่านมา ให้ความร่วมมือในการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้และสามารถตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้ในเบื้องตน (4) เพื่อให้สตรีที่ตรวจพบสิ่งผิดปกติได้รับส่งพบแพทย์และรับการรักษาที่ถูกต้อง (5) เพื่อลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะรุนแรง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมจัดอบรมสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 ปีขึ้นไปเกี่ยวกับมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสาวโฆษิต พิชิตมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ประจำปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2482-1-6

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดาราวัลย์ บั้นบูรณ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด