กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายสุริยันมุขยวัฒน์




ชื่อโครงการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 60-L3027-01-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2560 ถึง 31 สิงหาคม 2560

กิตติกรรมประกาศ

"ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม



บทคัดย่อ

โครงการ " ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาตูม และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านจาเราะบองอ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3027-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2560 - 31 สิงหาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 120,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบัน โรคไม่ติดต่อเรื้อรังโดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูและเบาหวานเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญและเร่งด่วนของประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย สาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง คือ พฤติกรรมและการใช้ชีวิตจะส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นได้ โดยเฉพาะการบริโภคอาหารรสเค็ม (โซเดียม)ซึ่ง WHO กำหนดให้รับประทานโซเดียมได้สูงสุด 2,400 mg/วัน ขาดการออกกำลังกายสูบบุหรี่ และ มีภาวะเครียด อายุที่เพิ่มขึ้น อาจส่งผลให้ความดันโลหิตเพิ่มสูงขึ้นได้ ความดันโลหิตสูงส่งผลกระทบรุนแรงต่อสุขภาพ ทำให้เส้นเลือดแดงแข็งขึ้น ลดความเร็วการไหลเวียนเลือด เพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคไม่ติดต่อ เป็นสาเหตุให้เกิดหัวใจล้มเหลว หลอดเลือดสมองแตก/ ตีบ(Stroke) โรคเบาหวาน และมีแนวโน้มของการเพิ่มการเป็น โรคไตวายระยะสุดท้าย ตามมาได้หากผู้ป่วยโรคเรื้อรังไม่ได้รับการดูแลรักษาอย่างถูกต้องต่อเนื่อง จะก่อให้เกิด ภาวะแทรกซ้อนในหลายระบบของร่างกาย ทั้งภาวะแทรกซ้อนแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรัง ทำ ให้เกิดความ พิการและตายก่อนวัยอันควร

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวโดยใช้หลัก 3อ2ส.และได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ.
  2. เพื่อให้ผู้นำเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนช่วยในการประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้โรคความดันโลหิต/เบาหวานในแต่ละพื้นทีในคุตเบาะห์.
  3. เพื่อให้เกิดเวทีการถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบในคนกลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานทีสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3อ2ส.
  4. กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยและรับการตรวจ รักษาจากแพทย์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.กลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวโดยใช้หลัก 3อ2ส.และได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ. 2.ผู้นำเครือข่ายสุขภาพในชุมชนช่วยประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้โรคความดันโลหิต/เบาหวานในคุตเบาะห์ 3.กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยจากแพทย์ทุกคน


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1.จากการดำเนินโครงการกลุ่มเสี่ยงความดันเบาหวานมีความรู้ในการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันการเกิดโรคความดันเบาหวานโดยการใช้หลัก 3อ2ส. เป็นอย่างดี และมีการติดตามเยี่ยมบ้านกลุ่มเสี่ยงเพื่อประเมินภาวะสุขภาพโดยเจ้าหน้าที่และอาสาสมัครสาธารณสุข 2.การดำเนินการโดยใช้ความร่วมมือของผู้นำเครือข่ายในชุมชน อย่างเช่นผู้นำศาสนาที่ช่วยในการให้ความรู้โรคความดันโลหิตสูง/เบาหวานโดยใช้หลักศาสนามาประยุกต์ใช้ในช่วงคุตเบาะวันศุกร์เพื่อกระตุ้นให้คนในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม 3.เกิดเวทีการถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบที่มาจากกลุ่มคนเสี่ยงที่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมมให้เป็นกลุ่มปกคิได้โดยใช้หลัก 3อ2ส. มาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน 4.มีการส่งต่อในกลุ่มสงสัยเพื่อยืนยันและตรวจรักษาโรคโดยแพทย์ รพ.ยะรัง และมีการส่งต่อข้อมูลระหว่าง รพ.สต. และรพ.ยะรังเป็นระยะ

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวโดยใช้หลัก 3อ2ส.และได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ.
    ตัวชี้วัด : กลุ่มเสี่ยงมีความรู้และสามารถปฏิบัติที่ถูกต้องเพื่อป้องกันโรคความดัน/เบาหวานโดยใช้หลัก 3อ2ส.และได้รับการเยี่ยมบ้าน 100%

     

    2 เพื่อให้ผู้นำเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนช่วยในการประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้โรคความดันโลหิต/เบาหวานในแต่ละพื้นทีในคุตเบาะห์.
    ตัวชี้วัด : ผู้นำเครือข่ายสุขภาพในชุมชนช่วยในการในการประชาสัมพันธ์สถานการณ์โรคความดัน/เบาหวานในแต่ละพื้นที่และมีส่วนในการให้ความรู้เรื่องสุขภาพตามวิถีอิสลามในช่วงคุตเบาะห์

     

    3 เพื่อให้เกิดเวทีการถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบในคนกลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานทีสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3อ2ส.
    ตัวชี้วัด : เกิดบุคคลต้นแบบจากคนกลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานทีสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3อ2ส.

     

    4 กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยและรับการตรวจ รักษาจากแพทย์
    ตัวชี้วัด : กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยและรับการตรวจ รักษาจากแพทย์ทุกคน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 70
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานมีความรู้และสามารถปฏิบัติตัวโดยใช้หลัก 3อ2ส.และได้รับการเยี่ยมบ้านเพื่อประเมินภาวะสุขภาพ. (2) เพื่อให้ผู้นำเครือข่ายสุขภาพในชุมชนมีส่วนช่วยในการประชาสัมพันธ์สถานการณ์และให้ความรู้โรคความดันโลหิต/เบาหวานในแต่ละพื้นทีในคุตเบาะห์. (3) เพื่อให้เกิดเวทีการถอดบทเรียนจากบุคคลต้นแบบในคนกลุ่มเสี่ยงความดัน/เบาหวานทีสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยใช้หลัก 3อ2ส. (4) กลุ่มผู้ป่วยที่สงสัยได้รับการส่งต่อเพื่อยืนยันการวินิจฉัยและรับการตรวจ รักษาจากแพทย์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโรคเรื้อรังตำบลเขาตูม จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 60-L3027-01-04

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายสุริยันมุขยวัฒน์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด