กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

assignment
บันทึกกิจกรรม
รณรงค์ Big cleaning dayในโรงเรียน20 พฤศจิกายน 2562
20
พฤศจิกายน 2562รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต. (นางสาวสาลินี จงเจตดี)
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

จัดกิจกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก โดยการสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ของลูกน้ำยุงลาย ในโรงเรียน ร่วมกันกำจัดลูกน้ำยุงลายรวมทั้งให้ความรู้ ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์  เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

ทุกโรงเรียนมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก

การพ่นหมอกควันเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน12 กรกฎาคม 2562
12
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย กองทุนตำบลปาเสมัส
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง
  1. มีการควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากได้รับรายงานจากผู้ป่วยในพื้นที่และพ่นเคมีหมอกควันในรัศมี 100 เมตร จากบ้านผู้ป่วย
  2. มีการพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายตัวแก่ในหมู่บ้านที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
  3. มีการใส่สารเคมีทราบอะเบทในตุ่มน้ำใช้ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย
circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม
  1. สามารถควบคุมโรคภายใน 24 ชั่วโมง หลังจากได้รับรายงานจากผู้ป่วยในพื้นที่และพ่นเคมีหมอกควันในรัศมี 100 เมตร จากบ้านผู้ป่วย
  2. สามารถพ่นหมอกควันเพื่อกำจัดยุงลายตัวแก่ในหมู่บ้านที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก
  3. คนในหมู่บ้านมีการใส่สารเคมีทราบอะเบทในตุ่มน้ำใช้ เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย
ประชาคมและรณรงค์ควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในหมู่บ้าน12 กรกฎาคม 2562
12
กรกฎาคม 2562รายงานจากพื้นที่ โดย รพ.สต. (นางสาวสาลินี จงเจตดี)
circle
กิจกรรมที่ปฎิบัติรายละเอียดของการทำกิจกรรมที่ได้ปฎิบัติจริง

๑. ให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์  เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก  และขอความ ร่วมมือให้ประชาชนทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ๒. รณรงค์ให้มีการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย

circle
ผลที่เกิดขึ้นจริงผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome) / ผลสรุปที่สำคัญของกิจกรรม

๑. อัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกลดลงร้อยละ ๒๐ จากค่ามัธยฐานย้อนหลัง ๕  ปี ๒. ทุกหมู่บ้านมีการจัดกิจกรรมรณรงค์ป้องกันโรคไข้เลือดออก ๓. ประชาชนมีความเข้าใจ และมีความตระหนักในเรื่องการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกและ พร้อมที่จะให้ความร่วมมือในการกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องและจริงจัง
๔. หน่วยงาน/องค์กรในพื้นที่ได้มีส่วนร่วมในการดำเนินงานแก้ไขปัญหาโรคไข้เลือดออกในพื้นที่