กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ


“ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue ”

ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางละออง ด้วงคง

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue

ที่อยู่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-1-3 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสุโสะ อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1487-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 22,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สุโสะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาสุขภาพช่องปากของประชาชนไทยยังคงเป็นปัญหาสำคัญ โดยเฉพาะโรคฟันผุเป็นปัญหาที่เด่นชัด ซึ่งเมื่อไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที โรคจะลุกลามและสุญเสียฟันในที่สุด ส่งผลต่อพัฒนาการสุขภาพ การสบฟันตลอดจนการใช้ชีวิตประจำวัน ข้อมูลจากการสำรวจภาวะสุขภาพช่องปากระดับประเทศ ครั้งที่ 7 ปี 2555 พบว่ากลุ่มเด็กอายุ 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 51.7 ในขณะที่ภาคใต้พบว่าเด็ก 3 ปี มีอัตราการเกิดสูงสุดเมื่อเปรียบเทียบกับภาคอื่นๆ เป็นร้อยละ 61   สำหรับอำเภอปะเหลียนกลุ่มเด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 59.69 และในเขตตำบลสุโสะกลุ่มเด็ก 3 ปี มีฟันน้ำนมผุร้อยละ 57.23 แม้ว่าภาวะปราศจากฟันผุจะลดลงอย่างต่อเนื่อง แต่ปฏิเสธไม่ได้ว่ามีเด็กส่วนหนี่งที่เกิดภาวะฟันผุไปแล้วและรอการบูรณะก่อนที่จะลุกลามไปจนต้องสูญเสียฟันอยู่เป็นจำนวนมาก SMART หรือ Simplified Modified Atraumatic Restoration Technique เป็นเทคนิคการอุดฟันที่คิดค้นเพื่อใช้ในการบูรณะฟันในกรณีที่ไม่สามารถจัดบริการรักษาแบบปกติได้ และทันตบุคลากรไม่ต้องได้รับการฝึกฝนมากนัก เป็นการให้บริการทันตกรรมเชิงรุก สามารถดำเนินการในชุมชนได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องใช้เครื่องมือที่ทันสมัย เทคนิคนี้ได้มีการพัฒนาวัสดุทางทันตกรรมที่ชื่อว่า กลาสไอโอโนเมอร์ ซีเมนต์ ที่มีคุณสมบัติที่ดีมีการปลดปล่อยฟลูออไรด์ในปริมาณที่สูง ซึ่งฟลูออไรด์ที่ปลดปล่อยออกมาก็มีคุณสมบัติในการต่อต้านเชื้อแบคทีเรีย เพิ่มการคืนกลับของแร่ธาตุ มีความสำคัญต่อการควบคุมการเกิดฟันผุหรือป้องกันการเกิดฟันผุซ้ำจากการทบทวนของ Yip และ Smales   ดังนั้น เพื่อเป็นการแก้ปัญหาฟันผุเชิงรุกในกลุ่มเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) และเป็นนโยบายของเครื่อข่ายบริการที่ 12 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุโสะ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี SMART TECHNIQUE ขึ้น เพื่อเป็นการเพิ่มการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากและลดการสูญเสียฟันน้ำนมก่อนวัยอันควรของเด็กก่อนวัยเรียน และลดการสะสมเชื้อแบคทีเรียที่ส่งผลให้ฟันกรามถาวรผุในช่วงวัยเรียนได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย
  2. เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กปฐมวัยและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5ปี) ด้วยวิธี smart technigue

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากมากขึ้น
  2. เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการสูญเสียฟันจากการถอนฟันลดลง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5ปี) ด้วยวิธี smart technigue

วันที่ 18 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดประชุมทีมงาน วางแผนงาน/โครงการ 2.จัดทำโครงการเสนอเพื่อขออนุมัติดำเนินการ 3.ประสานงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและโรงเรียน 4.ตรวจสุขภาพช่องปากแก่เด็กในเด็กก่อนวัยเรียน 5.จัดเตรียมสถานที่ในการทำโครงการ 6.ให้บริการอุดฟันด้วยเทคนิคการอุดฟันโดยไม่ใช้เครื่องกรอฟัน (SMART) ในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและ รร.อนุบาลในเขตรับผิดชอบของ รพ.สต.สุโสะ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ประเมินผลจากการเข้ารับบริการอุดฟันด้วยเทคนิค (SMART) 2.ประเมินคุณภาพหลังการอุดฟันด้วยเทคนิค (SMART)

 

100 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

จากการดำเนินโครงการ เด็กปฐมวัยได้เข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก และลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กปฐมวัย และลดปริมาณเชื้อแบตทีเรียที่ส่งผลให้ฟันกรามถาวรผุ ซึ่งผ่านตามวัตถุประสงค์ และตัวชี้วัดของโครงการ

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากมากขึ้น
100.00 103.00

ร้อยละ 90 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กสามารถเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากมากขึ้น

2 เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กปฐมวัยและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้
ตัวชี้วัด : เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการสูญเสียฟันจากการถอนฟันลดลง
100.00 103.00

ร้อยละ 90 เด็กปฐมวัยในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีอัตราการสูญเสียฟันจากการถอนฟันลดลง

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100 103
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100 103
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 0
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มอัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากในกลุ่มเด็กปฐมวัย (2) เพื่อลดอัตราการสูญเสียฟันของเด็กปฐมวัยและลดปริมาณเชื้อแบคทีเรียในช่องปากที่ส่งผลให้เกิดฟันผุในฟันถาวรได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5ปี) ด้วยวิธี smart technigue

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมทันตสุขภาพเด็กปฐมวัย (3-5 ปี) ด้วยวิธี smart technigue จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1487-1-3

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางละออง ด้วงคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด