กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี


“ โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน ”

ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวิชาณี ปิ่นทองพันธุ์

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน

ที่อยู่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5200-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มกราคม 2562 ถึง 31 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5200-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มกราคม 2562 - 31 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 18,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เด็กแรกเกิดถึง 5 ปี เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโต ทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมองซึ่งมีการเติบโตร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ เป็นวัยที่สำคัญเหมาะสมในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต การอบรมเลี้ยงดูเด็กให้เติบโตและพัฒนาอย่างมีคุณภาพ ผู้ปกครองมีบทบาทสำคัญในอบรมเลี้ยงดู ให้ความรักความเอาใจใส่ โดยเฉพาะเด็กช่วงอายุ 3 ปี เป็นโอกาสทองของชีวิต เพราะว่าสมองมีการเจริญเติบโตสูงสุด พร้อมที่จะเรียนรู้ในทุกๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม ล้วนมีความสำคัญและเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันหมด การเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการด้านหนึ่งย่อมมีผลให้พัฒนาการอีกด้านหนึ่งเปลี่ยนแปลงไปด้วย เช่น เด็กที่มีร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มักเคลื่อนไหวคล่องแคล่ว สามารถช่วยเหลือตนเองได้ มีอารมณ์แจ่มใส รู้จักควบคุมอารมณ์ เข้ากับผู้อื่นได้ดี และมีความสนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ในทางตรงกันข้ามเด็กที่มีสุขภาพไม่ดี มักประสบปัญญาด้านการเจริญเติบโตของร่างกายล่าช้า หรือหยุดชะงักชั่วขณะ อารมณ์หงุดหงิดง่าย มีอาการเศร้าซึม ปรับตัวเข้ากับผู้อื่นได้ยาก และขาดสมาธิในการเรียนรู้สิ่งต่างๆ
      เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่าร้อยละ 75 เป็นเด็กก่อนวัยเรียนจำนวนกว่า 1,700,000 คน (ประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ประมาณ 3.9 ล้านคน เด็ก 1-4 ปี ประมาณ 3.2 ล้านคน) ต้องถูกฝากเลี้ยงไว้ในศูนย์เด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่ร่วมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่เชื้อโรคติดต่อสู่กันได้ง่าย เด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำจะป่วยได้บ่อย โรคที่พบบ่อยได้แก่ โรคติดเชื้อทางเดินหายใจโรคมือ เท้า ปาก โรคอุจจาระร่วงเฉียบพลัน เป็นต้น ส่งผลกระทบต่อพัฒนาการสุขภาพโดยรวมของเด็ก การระบาดของโรคมือ เท้า ปาก อาจต้องปิดโรงเรียน เสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ผู้ปกครองต้องหยุดงาน เพื่อดูแลเด็กที่บ้าน ทำให้ขาดรายได้ (สำนักโรคติดต่ออุบัติใหม่ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข 2560) จึงจำเป็นต้องดำเนินงานการเฝ้าระวัง การป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กให้มีประสิทธิภาพ ซึ่งนอกจากจะช่วยลดการเกิดโรคติดเชื้อเฉียบพลันระบบหายใจในเด็ก โรคมือ เท้า ปาก และโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันแล้วยังเป็นการเตรียมความพร้อมรับมือกับการระบาดของโรคติดเชื้อ ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้ในอนาคต จากข้อมูลการเฝ้าระวังโรคของสำนักระบาดวิทยากรมควบคุมโรค พบมากที่สุดคือ อายุ 1-3 ปี ซึ่งกระจายอยู่ในทุกตำบล การดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคในศูนย์เด็กเล็กเพื่อป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก หมายถึง การดำเนินงานเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรค มือ เท้า ปาก ไม่ให้แพร่กระจายและลดการป่วยของเด็กเล็กไม่ให้เกิดการแพร่ระบาดในศูนย์เด็กเล็ก เป็นวัยที่ อยากรู้ อยากเห็น อยากลอง ชอบเลียนแบบ ช่างจดจำ และเป็นวัยที่เริ่ม ช่วยเหลือตนเองได้ ความต้านทานโรคต่ำ ซึ่งสามารถที่จะติดเชื้อต่างๆได้ง่าย อีกเป็นวัยที่ซุกซน การดูแลและส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อให้เด็กเติบโตสุขภาพสมบูรณ์ ทั้งร่างกายและจิตใจ อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข เป็นบุคคลที่มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม ด้านสติปัญญา ดังนั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา วิธีการและรูปแบบที่เหมาะสมจึงมีความสำคัญยิ่ง การจัดการศึกษาปฐมวัยมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง พ่อ แม่ และผู้ใกล้ชิดเด็ก เป็นผู้ช่วยเหลือให้เด็กมีพัฒนาการและเตรียมความพร้อมอย่างเหมาะสม ซึ่งการดูแลส่งเสริมสุขภาพเด็กก่อนวัยเรียน ให้บรรลุเป้าหมายต้องได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครอง ผู้ปกครองมีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในการอบรมเลี้ยงดู การดูแลเอาใจใส่สุขภาพร่างกาย สุขภาพจิต ที่ถูกต้อง เรื่องการดูแลรักษาเอาใจใส่ลูกให้มีสุขภาพอนามัยที่ดี และ ปัญหาสุขภาพและโรคที่เกิดบ่อยๆในเด็ก สาเหตุที่ทำให้เกิดโรค อาการของโรค เพื่อการปฏิบัติดูแล เอาใจใส่บุตรหลานอย่างถูกต้อง เพื่อเป็นการป้องกันการเกิดโรคที่ถูกวิธี ศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัยเทศบาลตำบลนาทวี ได้ตระหนักและมองเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าวข้างต้น หากไม่ดำเนินการป้องกันและแก้ไขเร่งด่วน จะส่งผลต่อพัฒนาการทั้งในด้านสมอง ร่างกายและจิตใจของเด็กในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัยเทศบาลตำบลนาทวี จึงได้ร่วมมือกับผู้ปกครอง จัดทำโครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในเด็กก่อนวัยเรียน เพื่อเป็นการให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้ปกครอง ในการป้องกัน เฝ้าระวัง รักษาสุขภาพ บุตรหลาน ของตนเองได้อย่างถูกต้อง อนึ่งการดำเนินงานโครงการดังกล่าวจะส่งผลให้เด็กในศูนย์พัฒนาการศึกษาปฐมวัยเทศบาลตำบลนาทวี มีคุณภาพ ทางด้านร่างกาย ด้านจิตใจ-อารมณ์ ด้านสังคม และด้านสติปัญญาที่ดี สมวัย ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพของเด็ก เกี่ยวกับโรคที่มักเกิดขึ้นกับเด็กก่อนวัยเรียน
  2. เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองเบื้องต้นให้ปลอดภัยจากโรค
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพของเด็ก เกี่ยวกับโรคที่มักเกิดขึ้นกับเด็กก่อนวัยเรียน
    2. เด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองเบื้องต้นให้ปลอดภัยจากโรค
    3. เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพของเด็ก เกี่ยวกับโรคที่มักเกิดขึ้นกับเด็กก่อนวัยเรียน
    ตัวชี้วัด : - ร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพของเด็ก เกี่ยวกับโรคที่มักเกิดขึ้นกับเด็กก่อนวัยเรียน ร้อยละ 90
    0.00

     

    2 เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองเบื้องต้นให้ปลอดภัยจากโรค
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองเบื้องต้นให้ปลอดภัยจากโรค ร้อยละ 70
    0.00

     

    3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย ร้อยละ 70
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 100
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ครูและผู้ปกครอง มีความรู้ ความเข้าใจในการเฝ้าระวังและดูแลสุขภาพของเด็ก เกี่ยวกับโรคที่มักเกิดขึ้นกับเด็กก่อนวัยเรียน (2) เพื่อให้เด็กมีความรู้และทักษะในการดูแลตัวเองเบื้องต้นให้ปลอดภัยจากโรค (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กก่อนวัยเรียน มีพัฒนาการทางร่างกายและสมองเจริญเติบโตสมวัย

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการรณรงค์ส่งเสริมความรู้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อในสถานศึกษาสำหรับเด็กก่อนวัยเรียน จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 62-L5200-3-01

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวิชาณี ปิ่นทองพันธุ์ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด