กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล


“ โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา ”

ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางวรรณฤดีพฤกษศรี

ชื่อโครงการ โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา

ที่อยู่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L5238-01-06 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลชุมพล อำเภอสทิงพระ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L5238-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ชุมพล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ธาตุเหล็ก (Iron) เป็นธาตุอาหารสำคัญที่ร่างกายสร้างเองไม่ได้ จึงจำเป็นที่จะต้องได้จากอาหารอย่างเพียงพออาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น เนื้อสัตว์ อาหารทะเล ปลา เป็ด ไก่ ตับ ม้าม ไข่แดง อาหารเช้าซีเรียล (Cereal) หรือนมที่เสริมอาหารด้วยธาตุเหล็ก ในพืช เช่น ผักที่มีใบเขียวเข้มทุกชนิด เช่น ใบตำลึง ผักโขม ถั่วแดง ถั่วดำ ข้าวโอตธาตุเหล็กจะถูกดูดซึมในส่วนของลำไส้เล็ก ซึ่งธาตุเหล็กจากแหล่งอาหารที่มาจากสัตว์จะถูกดูดซึมได้ดีกว่าจากแหล่งอาหารที่มาจากพืช นอกจากนี้ ธาตุเหล็กยังดูดซึมได้ดีในภาวะที่น้ำย่อยอาหารมีความเป็นกรด วิตามินซี และอาหารที่มีวิตามินซีสูง จะช่วยเพิ่มการดูดซึมธาตุเหล็กด้วย แต่สารที่ลดการดูดซึมธาตุเหล็ก ได้แก่ยาบางชนิด สาร Tannin ในชาและกาแฟ เมื่อบริโภคในปริมาณสูงอาหารที่มีใยอาหารสูง และอาหารที่มีแคลเซียมสูง เมื่อดูดซึมแล้ว ส่วนหนึ่งจะถูกนำไปใช้งาน บางส่วนร่างกายจะสะสมใน ตับ ม้าม และ ไขกระดูก ทั้งนี้ ในภาวะปกติ ร่างกายจะกำจัดธาตุเหล็กส่วนเกินออกทางตับ (ทางน้ำ ดี) และทางไต (กำจัดออกทางปัสสาวะ แต่ในปริมาณน้อยมาก) หน้าที่ของธาตุเหล็ก ที่สำคัญที่สุด คือ เป็นส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง ซึ่งเป็นตัวนำออกซิเจนจากปอดไปสู่เซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย เพื่อการทำงาน การใช้พลังงานของเซลล์ทุกๆเซลล์ของร่างกาย ธาตุเหล็กจึงมีความสำคัญต่อไขกระดูกในการสร้างเม็ดเลือดแดงเป็นอย่างมาก ช่วยสร้างภูมิคุ้มกันต้านโรค ช่วยการเจริญเติบโตของเซลล์สมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับความเข้าใจและความจำ ช่วยการทำงานของกล้ามเนื้อต่างๆ และเป็นส่วนประกอบของเอนไซม์ต่างๆในการสันดาปพลังงาน/นำพลังงานต่างๆไปใช้ดังนั้น เมื่อขาดธาตุเหล็ก จะเป็นสาเหตุหลักให้เกิดภาวะซีด หรือภาวะโลหิตจาง (โลหิตจางจากขาดธาตุเหล็ก) โรคโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญปัญหาหนึ่งของประเทศที่กำลังพัฒนา กระทรวงสาธารณสุข ได้ระบุไว้ในแผนงานอาหารและโภชนาการแห่งชาติมาตั้งแต่ฉบับแรก โดยมีความพยายามที่จะดำเนินการควบคุมป้องกันมาตลอด ได้จัดตั้งระบบเฝ้าระวังภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธุ์ หญิงตั้งครรภ์ เด็กวัยก่อนเรียนและเด็กวัยเรียน เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธ์เป็นกลุ่มวัยที่มีความสำคัญและส่งผลต่อทารกและเด็กซึ่งเป็นเยาวชนของชาติ ซึ่งสารอาหารที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง ในหญิงตั้งครรภ์และพบได้บ่อยคือ การขาดธาตุเหล็กเพราะธาตุเหล็กเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการสังเคราะห์ฮีโมโกลบินทำหน้าที่จับกับออกซิเจนและส่งให้ทุกเซลล์ในร่างกาย จากการสำรวจสถานการณ์ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุ เหล็กในหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่รับผิดชอบ ในปีงบประมาณ 2559พบว่าหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กสูงถึงร้อยละ 46.15 (เป้าหมายกรมอนามัยกำหนดให้ไม่เกินร้อยละ 10) จากปัญหาดังกล่าวรพ.สต.ชุมพล จึงได้จัดทำโครงการแก้ไขภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์โดยมุ่งเน้นให้ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาชุมชนด้วยตนเองอันจะก่อให้เกิดความยั่งยืนของโครงการต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. ลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์/หญิงตั้งครรภ์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    หญิงวัยเจริญพันธุ์ มีความรู้เกี่ยวกับ การเตรียมตัวการตั้งครรภ์ เลือกรับประทานอาหาร เพื่อป้องกันตนเองการขาดธาตุเหล็ก ส่งผลให้ทารกในครรภ์มีสุขภาพดีต่อไป


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ผลผลิต -หญิงตั้งครรภ์มีภาวะซีด จำนวน 2 คน -หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารยาเสริมธาตุ เหล็ก จำนวน 50 คน ผลตัวชี้วัด -หญิงตั้งครรภ์ได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก จำนวน 10 คน มีภาวะซีด 2 คน ร้อยละ 20 -หญิงวัยเจริญพันธ์มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานอาหารยาเสริมธาตุ เหล็ก จำนวน 50 คน

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. ลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์/หญิงตั้งครรภ์
    ตัวชี้วัด : 1.ลดภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ไม่เกินร้อยละ 10 2.หญิงวัยเจริญพันธุ์มีความรู้และปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภคอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เล็งเห็นความสำคัญของการรับประทานยาเสริมธาตุเหล็ก ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. ลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์/หญิงตั้งครรภ์

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ วัยใส ไม่ซีด โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลชุมพล อ.สทิงพระ จ.สงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L5238-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางวรรณฤดีพฤกษศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด