คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา
ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา
บทคัดย่อ
โครงการ " คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3027-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่า เป็นปัญหาสำคัญ คือ “ขยะล้นเมือง” ทั้งในระดับ ชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือขยะย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยจนกระทั่ง การกำจัดขยะไม่สมดุลกับ การเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะจึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมากแม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้ เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับ ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากต่อสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม เป็นมลพิษ ส่งกลิ่นเหม็น อันเกิดให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของบุคคล
จากการสำรวจของกรมควบคุมมลพิษพบว่า ทุกจังหวัดของไทยมีปัญหาวิกฤติเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย โดย 20 อันดับแรกที่มีปัญหามากที่สุด ได้แก่ สงขลา สมุทรปราการ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ราชบุรี เพชรบุรี แพร่ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ระนอง นครพนม ปัตตานี ฉะเชิงเทรา ร้อยเอ็ด ลพบุรี อ่างทอง ขอนแก่น บุรีรัมย์ และชุมพร ตามลำดับ ด้านอัตราการผลิตขยะต่อคนต่อวันพบว่า สูงขึ้นต่อเนื่องทุกปีจาก 1.03 กิโลกรัมต่อคนต่อวันในปี 2551 เป็น 1.15 กิโลกรัมต่อคนต่อวันในปี 2556 แต่หากคำนวณตามพื้นที่ที่เกิดขยะมูลฝอย พบว่า อัตราการเกิดขยะมูลฝอยกิโลกรัมต่อคนต่อวัน เป็นดังนี้ เทศบาลนคร เท่ากับ 1.89 เทศบาลเมือง 1.15 เทศบาลตำบล 1.02 เมืองพัทยา 3.90 และองค์กรบริหารส่วนตำบล 0.91
นโยบายผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ได้ร่วมประชุมรับมอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนวาระปัตตานี 2560 ชี้แจงเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา ได้กำหนดประเด็นสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์วาระปัตตานี 2560 จำนวน 12 วาระ ประกอบด้วย 1) ปัตตานีเมืองสะอาด2) สร้างวินัยจราจรและความปลอดภัยทางถนน3) ปัตตานีเมืองกีฬา4) การผลิตเกษตรอินทรีย์5) เพิ่มผลผลิตด้านการปศุสัตว์ 6)ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ให้อ่าวปัตตานีและลุ่มน้ำสำคัญ7) พัฒนาเขตอุตสาหกรรมปัตตานี เพื่อรองรับยุทธศาสตร์เมืองต้นแบบ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”8) พัฒนาแหล่งน้ำและจัดระบบบริหารจัดการน้ำ 9) ช่วยเหลือผู้ยากไร้และด้อยโอกาส 10) พัฒนาประสิทธิภาพการบริการประชาชน 11) สร้างความเข้มแข็งของสังคมพหุวัฒนธรรม และ12)สร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้เกิดสังคมสงบสุขจากนโยบายจะเห็นได้ว่า “ปัตตานีเมืองสะอาด” เป็นประเด็นแรกของประเด็นขับเคลื่อนยุทธศาสตร์วาระปัตตานี 2560 ได้
ตำบลเขาตูมก็ประสบปัญหาด้านขยะมูลฝอย โดยเฉพาะขยะจากบ้านเรือนหรือครัวเรือน อีกทั้งยังขาดการรณรงค์ในเรื่องของขยะน้อยมาก โดยเฉพาะหมู่ที่ 3 ชุมชนบ้านโสร่ง หลักจากมีมหาวิทยาลัยฟาฏอนีเกิดขึ้น ก็ส่งผลต่อการเกิดอาคาร บ้านเรือน ขึ้นมาใหม่จำนวนมาก สิ่งที่ตามมานั้นก็คือ ขยะมูลฝอยจำนวนมาก
ดังนั้น เพื่อเป็นการริเริ่มในการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะของชุมชนขึ้น โดยจะริเริ่มจากขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนาขึ้นมาก่อน โดยมีชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ตำบลเขาตูมทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนงาน เพื่อให้เกิดการคัดแยกขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนแล้วยังเป็นการจัดการกับสิ่งแวดล้อมในชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ
- เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ทำให้เกิดบ้านเรือนหรือครอบครัวสะอาดเป็นระเบียบในกำจัดขยะในครัวเรือน
2) ช่วยลดประมาณขยะมูลฝอยในชุมชนสู่สภาพแวดล้อมที่ดี ไร้โรค
3) มีกลไกระดับชุมชนในรูปคณะกรรมดำเนินงานเรื่องการคัดแยกขยะของชุมชน
4) เกิดบ้านเรือนหรือครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนเป็นแบบอย่างหรือต้นแบบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถดำเนินการคัดแยกขยะอย่างมีประสิทธิภาพ
2
เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถดำเนินการคัดแยกขยะครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ
3
เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด”
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน “บ้านสะอาด”
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
100
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ (3) เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา ”
ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
กันยายน 2560
ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-03 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 15 มีนาคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา
บทคัดย่อ
โครงการ " คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 60-L3027-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 15 มีนาคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 108,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่า เป็นปัญหาสำคัญ คือ “ขยะล้นเมือง” ทั้งในระดับ ชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือขยะย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วยจนกระทั่ง การกำจัดขยะไม่สมดุลกับ การเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะจึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่เป็นจำนวนมากแม้จะมีพื้นที่ที่จัดไว้ เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับ ปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากต่อสภาพแวดล้อมเสื่อมโทรม เป็นมลพิษ ส่งกลิ่นเหม็น อันเกิดให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพของบุคคล
จากการสำรวจของกรมควบคุมมลพิษพบว่า ทุกจังหวัดของไทยมีปัญหาวิกฤติเรื่องการจัดการขยะมูลฝอย โดย 20 อันดับแรกที่มีปัญหามากที่สุด ได้แก่ สงขลา สมุทรปราการ กาญจนบุรี นครศรีธรรมราช สุราษฎร์ธานี ราชบุรี เพชรบุรี แพร่ ปราจีนบุรี พระนครศรีอยุธยา ระนอง นครพนม ปัตตานี ฉะเชิงเทรา ร้อยเอ็ด ลพบุรี อ่างทอง ขอนแก่น บุรีรัมย์ และชุมพร ตามลำดับ ด้านอัตราการผลิตขยะต่อคนต่อวันพบว่า สูงขึ้นต่อเนื่องทุกปีจาก 1.03 กิโลกรัมต่อคนต่อวันในปี 2551 เป็น 1.15 กิโลกรัมต่อคนต่อวันในปี 2556 แต่หากคำนวณตามพื้นที่ที่เกิดขยะมูลฝอย พบว่า อัตราการเกิดขยะมูลฝอยกิโลกรัมต่อคนต่อวัน เป็นดังนี้ เทศบาลนคร เท่ากับ 1.89 เทศบาลเมือง 1.15 เทศบาลตำบล 1.02 เมืองพัทยา 3.90 และองค์กรบริหารส่วนตำบล 0.91
นโยบายผู้ว่าราชการจังหวัดปัตตานี ได้ร่วมประชุมรับมอบนโยบายและแนวทางการขับเคลื่อนวาระปัตตานี 2560 ชี้แจงเมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2560 ที่ผ่านมา ได้กำหนดประเด็นสำคัญในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์วาระปัตตานี 2560 จำนวน 12 วาระ ประกอบด้วย 1) ปัตตานีเมืองสะอาด2) สร้างวินัยจราจรและความปลอดภัยทางถนน3) ปัตตานีเมืองกีฬา4) การผลิตเกษตรอินทรีย์5) เพิ่มผลผลิตด้านการปศุสัตว์ 6)ฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ให้อ่าวปัตตานีและลุ่มน้ำสำคัญ7) พัฒนาเขตอุตสาหกรรมปัตตานี เพื่อรองรับยุทธศาสตร์เมืองต้นแบบ “มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”8) พัฒนาแหล่งน้ำและจัดระบบบริหารจัดการน้ำ 9) ช่วยเหลือผู้ยากไร้และด้อยโอกาส 10) พัฒนาประสิทธิภาพการบริการประชาชน 11) สร้างความเข้มแข็งของสังคมพหุวัฒนธรรม และ12)สร้างความเข้าใจร่วมกัน เพื่อให้เกิดสังคมสงบสุขจากนโยบายจะเห็นได้ว่า “ปัตตานีเมืองสะอาด” เป็นประเด็นแรกของประเด็นขับเคลื่อนยุทธศาสตร์วาระปัตตานี 2560 ได้
ตำบลเขาตูมก็ประสบปัญหาด้านขยะมูลฝอย โดยเฉพาะขยะจากบ้านเรือนหรือครัวเรือน อีกทั้งยังขาดการรณรงค์ในเรื่องของขยะน้อยมาก โดยเฉพาะหมู่ที่ 3 ชุมชนบ้านโสร่ง หลักจากมีมหาวิทยาลัยฟาฏอนีเกิดขึ้น ก็ส่งผลต่อการเกิดอาคาร บ้านเรือน ขึ้นมาใหม่จำนวนมาก สิ่งที่ตามมานั้นก็คือ ขยะมูลฝอยจำนวนมาก
ดังนั้น เพื่อเป็นการริเริ่มในการแก้ไขปัญหาเรื่องขยะของชุมชนขึ้น โดยจะริเริ่มจากขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนาขึ้นมาก่อน โดยมีชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ตำบลเขาตูมทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงในการขับเคลื่อนงาน เพื่อให้เกิดการคัดแยกขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนแล้วยังเป็นการจัดการกับสิ่งแวดล้อมในชุมชนอีกทางหนึ่งด้วย
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน
- เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ
- เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด”
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1) ทำให้เกิดบ้านเรือนหรือครอบครัวสะอาดเป็นระเบียบในกำจัดขยะในครัวเรือน
2) ช่วยลดประมาณขยะมูลฝอยในชุมชนสู่สภาพแวดล้อมที่ดี ไร้โรค
3) มีกลไกระดับชุมชนในรูปคณะกรรมดำเนินงานเรื่องการคัดแยกขยะของชุมชน
4) เกิดบ้านเรือนหรือครัวเรือนที่มีการคัดแยกขยะในบ้านเรือนหรือครัวเรือนเป็นแบบอย่างหรือต้นแบบ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถดำเนินการคัดแยกขยะอย่างมีประสิทธิภาพ |
|
|||
2 | เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 10 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถดำเนินการคัดแยกขยะครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ |
|
|||
3 | เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด” ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 จากกลุ่มเป้าหมายสามารถลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน “บ้านสะอาด” |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 100 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เกิดการคัดแยกขยะในครัวเรือน (2) เพื่อส่งเสริมให้เกิดครัวเรือนคัดแยกขยะเป็นต้นแบบ (3) เพื่อลดปริมาณขยะที่ไม่ได้รับการคัดแยกจากครัวเรือน“บ้านสะอาด”
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
คัดแยกขยะในครัวเรือนของชุมชนต้นแบบตำบลสะอาดในการจัดการสุขภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยใช้ชุมชนเป็นฐานพัฒนา จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 60-L3027-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......