กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน


“ โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ ”

ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางเจะมารียัม สะอิ

ชื่อโครงการ โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ

ที่อยู่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-2-25 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มกราคม 2562 ถึง 26 กุมภาพันธ์ 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกเคียน อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L2492-2-25 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มกราคม 2562 - 26 กุมภาพันธ์ 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โคกเคียน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนในปัจจุบัน นับว่าเป็นปรากฏการณ์ของปัญหาที่สำคัญปัญหาหนึ่งที่ไม่สามารถจะมองข้ามได้ เนื่องจากปัญหาด้านสุขภาพจะส่งผลกระทบต่อปัญหาอื่นๆอีกมากมาย เช่น ปัญหาด้านเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา เป็นต้น ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะปัญหาสุขภาพที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ดีของบุคคล เช่น โรคความดันโลหิต โรคเบาหวาน โรคอ้วน โรคกระดูกและข้อ เป็นต้น ซึ่งโรคต่างๆเหล่านี้ เป็นโรคที่สามารถป้องกันได้และไม่ทำให้รัฐสิ้นเปลืองงบประมาณในการเยียวยารักษา ประกอบกับกระแสปฏิรูประบบสุขภาพของภายในปัจจุบัน ที่เน้นการ “สร้าง” มากกว่าการ “ซ่อม” สุขภาพเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุกในการสร้างเสริมสุขภาพและได้กำหนดนโยบายหลัก ๖ อ. ในการสร้างสุขภาพแก่ประชาชน ซึ่งประกอบด้วย ออกกำลังกาย อาหาร อารมณ์ อโรคยา อนามัยสิ่งแวดล้อมและอบายมุข
การฝึกโยคะเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมทางกายและเป็นหนึ่งหลักการสำคัญในการส่งเสริมสุขภาพ สามารถป้องกันโรคได้ไม่แพ้หลักการอื่นๆ องค์การอนามัยโลกได้ให้คำจำกัดความว่า กิจกรรมทางกายไม่ได้จำกัดเฉพาะการออกกำลังกายหรือการเล่นกีฬาเท่านั้น แต่รวมถึงการเคลื่อนไหวร่างกายใดๆ ที่ต้องใช้กล้ามเนื้อและพลังงานในชีวิตประจำวันทั่วไป การฝึกโยคะเป็นการบำบัดโรคอีกวิธีหนึ่ง ฝึกกายใจ ฝึกสมอง ทำให้สมองปลอดโปร่งมีประสิทธิภาพดีขึ้นและเสริมสร้างบุคลิกดี ทำให้บุคคลมีบุคลิกที่ดี ทางกลุ่มได้ตระหนักถึงความสำคัญของการส่งเสริมสุขภาพด้วยการมีกิจกรรมทางกายและจิต จึงได้จัดโครงการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพขึ้น เพื่อดูแลเอาใจใส่ทางด้านร่างกายและจิตใจที่ถูกต้องและเหมาะสม

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายโดยการฝึกโยคะ การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูกต้อง
  2. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มและเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพร่วมกัน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดการตรวจสุขภาพ
  2. 2.จัดอบรม
  3. 3.การออกกำลังกาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สมาชิกในกลุ่มมีสมรรถภาพร่างกายแข็งแรงสมบูรณ์มีสุขภาพดีห่างไกลโรค ๒.สมาชิกในกลุ่มได้รับการส่งเสริมสุขภาพและเกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยการมีกิจกรรมทางกายอย่างเหมาะสม
๓. เกิดการรวมกลุ่มเพื่อออกกำลังกายมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดการตรวจสุขภาพ

วันที่ 14 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x2 เมตร จำนวน 1 ผืน ๆ ละ 750 บาท เป็นเงิน 750 บาท
  • ผ้าขนหนูขนาด 1x1.75 ซม. จำนวน 35 ผืน ๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน 8,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1x2 เมตร จำนวน 1ผืน
  • ผ้าขนหนูขนาด 1x1.75 ซม. จำนวน 35 ผืน

 

0 0

2. 2.จัดอบรม

วันที่ 14 มกราคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 5 ชั่วโมง เป็นเงิน 3,000 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน ๆ ละ 25 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 35 คน ๆ ละ 50 บาท จำนวน 1 มื้อ เป็นเงิน 1,750 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • วิทยากร จำนวน 5 ชั่วโมง
  • อาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 35 คน จำนวน 2 มื้อ
  • อาหารกลางวัน จำนวน 35 คน จำนวน 1 มื้อ

 

35 0

3. 3.การออกกำลังกาย

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2564

กิจกรรมที่ทำ

  • ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน/วัน ๆ ละ 300 บาท สัปดาห์ละ 2 วัน ทั้งหมด 6 สัปดาห์ รวม 12 วัน เป็นเงิน 3,600 บาท
  • ค่าน้ำดื่ม จำนวน 40 ขวด ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 400 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ค่าวิทยากร 1 คน/วัน ๆสัปดาห์ละ 2 วัน ทั้งหม
  • ค่าน้ำดื่ม จำนวน 40 ขวด

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายโดยการฝึกโยคะ การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้ใหญ่ ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและมีการออกกำลังกายวันละ ๒๐ นาที
80.00

 

2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มและเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพร่วมกัน
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้ใหญ่ ที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพและมีการออกกำลังกายวันละ ๒๐ นาที
80.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 35
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สมาชิกมีการออกกำลังกายโดยการฝึกโยคะ การเคลื่อนไหวร่างกายอย่างถูกต้อง (2) เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของกลุ่มและเปลี่ยนเรียนรู้ในการดูแลสุขภาพร่วมกัน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดการตรวจสุขภาพ (2) 2.จัดอบรม (3) 3.การออกกำลังกาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L2492-2-25

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางเจะมารียัม สะอิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด