กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู


“ โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs ”

ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
องค์การบริหารส่วนตำบลลำภู

ชื่อโครงการ โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs

ที่อยู่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 02/1/2562 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 31 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำภู อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 02/1/2562 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 31 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 48,580.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ลำภู เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาของประเทศไทยที่ผ่านมา ได้เน้นการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ อุตสาหกรรม และโครงสร้างพื้นฐานเป็นสำคัญ ซึ่งสภาพทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วแสดงให้เห็นถึงปัญหาทางสังคมต่าง ๆ มากมาย อาทิเช่น ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ  ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากการขาดระบบการจัดการที่ดี การขาดพื้นที่รองรับปริมาณขยะ รวมถึงการขาดจิตสำนึก  ทำให้พฤติกรรมการทิ้งขยะไม่มีการคัดแยกก่อนทิ้ง ไม่มีการนำขยะมาใช้ประโยชน์ใหม่ โดยปัจจุบันสถานการณ์ขยะมูลฝอยชุมชนตำบลลำภู มีอัตราเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โดยมีปริมาณขยะที่เกิดขึ้นประมาณ ๖ ตันต่อวัน คิดเป็นอัตราการเกิดขยะ ๐.๕ กิโลกรัมต่อคนต่อวัน และมีค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะต่อเดือนอยู่ที่ ๑๓๐,๐๐๐ บาท

โดยพบว่าเดิมพื้นที่ที่มีปริมาณขยะเป็นจำนวนมาก คือ พื้นที่หมู่ที่ ๘ ,๑๐ ,๑๑ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นเขตชุมชนเมือง มีการขยายตัวของประชากรสูง มีบ้านเรือนอาศัยหนาแน่นและ มีความเจริญทางด้านเศรษฐกิจและสังคม องค์การบริหารส่วนตำบลลำภูจึงได้จัดทำโครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs ในปีงบประมาณ 2561 เพื่อเป็นการนำร่องในการคัดแยกขยะต้นทางใน 3 หมู่บ้าน (หมู่ที่ 8 บ้านปลักปลา หมู่ที่ 10 บ้านทุเรียนนก และหมู่ที่ 11 บ้านบาโง) เพื่อสะท้อนปัญหา และชี้ให้คนในชุมชนได้เห็นว่าปัญหาขยะมูลฝอยในพื้นที่ดังกล่าวเป็นปัญหาที่เกิดและสั่งสมมาเป็นระยะเวลานานจนปัจจุบันยังก่อให้เกิดเป็นแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายที่ทำให้มีการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกในอัตราที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องอีกด้วย และพบว่าหลังจากการดำเนินโครงการฯ เสร็จสิ้นไปแล้วนั้น ปริมาณขยะมูลฝอยที่องค์การบริหารส่วนตำบลลำภูได้ดำเนินการจัดเก็บโดยรถขยะ ในหมู่ที่ 8, 10, 11 มีปริมาณลดลง จึงเห็นว่าวิธีการที่จะแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยเพื่อให้เกิดความยั่งยืนมากที่สุดคือ การส่งเสริมการคัดแยกขยะมูลฝอยตั้งแต่ต้นทางจากครัวเรือน โดยมุ่งเน้นการใช้หลักการ ๓Rs นั่นคือ จะต้องดำเนินการ
๑.การลดปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น (Reduce)
๒.การนำกลับมาใช้ซ้ำ (Reuse)
๓.การแปรรูปกลับมาใช้ใหม่ (Recycle)
โดยกระบวนการ ๓Rs จะไม่ประสบความสำเร็จหากไม่มีการคัดแยกมูลฝอยอย่างถูกต้อง และถูกวิธีภายใต้ระเบียบแบบแผนเดียวกันของทั้งชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลลำภูในฐานะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ทำหน้าที่ในการจัดบริการสาธารณะและมีหน้าที่โดยตรงในการกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในพื้นที่ตลอดจนดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ตาม พรบ. สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๒) กอปรกับรัฐบาลได้กำหนดให้ปัญหาขยะมูลฝอยเป็นวาระแห่งชาติ และมีการกำหนดแผนในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและแผนปฏิบัติการ “ ประเทศไทย ไร้ขยะ” ตามแนวทาง “ประชารัฐ” เพื่อเป็นแนวทางในการขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่การเป็นสังคมปลอดขยะ (Zero Waste Society) จึงได้ต่อยอดในการดำเนินกิจกรรมการให้ความรู้การคัดแยกขยะในหมู่ที่ ๑, ๒, ๔, และ ๙ ตามโครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลลำภู

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนในชุมชนได้
  2. เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่
  3. เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑ ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำภูมีความรู้ความเข้าใจในการคัดแยกขยะมูลฝอย และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการคัดแยกขยะมูลฝอยอย่างถูกต้อง

    ๒ สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยในระบบได้ ร้อยละ ๕ ในพื้นที่ตำบลลำภู

    ๓ ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงที่เป็นพาหะนำโรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยาในพื้นที่ตำบลลำภูได้

    ๔ ลดอัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก และโรคชิคุนกุนยาให้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลลำภู


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนในชุมชนได้
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้และเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนในชุมชนได้
    0.00

     

    2 เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    3 เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง
    ตัวชี้วัด :
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 200
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 200
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และเข้าใจการคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรือนได้อย่างถูกวิธีและสามารถถ่ายทอดความรู้ให้คนในชุมชนได้ (2) เพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยในพื้นที่ (3) เพื่อกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์พาหะนำโรคติดต่อมาสู่ชุมชนที่เกิดจากปัญหาขยะมูลฝอยตกค้าง

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการฝึกอบรมการคัดแยกขยะจากครัวเรือนโดยกิจกรรม ๓Rs จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 02/1/2562

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( องค์การบริหารส่วนตำบลลำภู )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด