กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม


“ โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3 ”

ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
ฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี

ชื่อโครงการ โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3

ที่อยู่ ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3027-02-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 20 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาตูม อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาตูม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน 2. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลักที่ 1
1.1 การจัดเวทีให้ความรู้ในครั้งนี้ทางผู้จัดได้ขอความร่วมมือกับทางบริษัทพิธานภาณิชย์ปัตตานี จำกัดในการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรกระบวนการ ณ ห้องสัมมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยีและสารสนเทศสำนักวิทยบริการ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 133 คน เนื้อหาในการบรรยายประกอบไปด้วย - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พรบ.ว่าด้วยการขับขี่ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์รถจักรยายนต์ เช่น การสวมใสหมวกนิรภัยที่ถูกต้อง การตรวจความพร้อมของรถจักรยานยนต์ก่อนการขับขี่ - การดูแลบำรุงรักษาสภาพรถจักยานยนต์ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - การเซฟตี้ตัวผู้ขับขี่ ขณะขับขี่รถจักยานยนต์ - ให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร 1.2 เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุมชนและมหาวิทยาลัย
การเดินรณรงค์ปลอดอุบัติเหตุในครั้งนี้จะประกอบด้วยผู้เข้าร่วมจากคณะกรรมการดำเนินงานจัดกิจกรรมจำนวน 113 คน นักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยมีกิจกรรมต่างๆ ในการเดินขบวน ดั้งนี้
-มีการนำป้ายข้อความรณรงค์เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน -มีมาสคอร์ตร่วมในการเดินขบวนรณรงค์เช่น มาสคอร์ตสัญญาณจราจร มาสคอร์ตสวมหมวกนิรภัย มาสคอร์ตการใช้ป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถ 1.3 กาจัดแสดงนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน การจัดนิทรรศการ ทางผู้จัดได้ขอความความอนุเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนสื่อต่างๆ ในการจัดแสดงนิทรรศการด้านส่งเสริมวินัยจราจร จากสำนักงานขนส่ง จังหวัดยะลา ประกอบไปด้วยสื่อต่างๆดังนี้
-โปสเตอร์ รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย -โปสเตอร์สัญลักษณ์เครื่องหมายจราจร -วารสารและแผ่นพับให้ความรู้เรื่องระเบียบวินัยจราจร -การฉายวีดีทัศน์เกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน


(2) กิจกรรมหลักที่ 2 ผลจากการถอดบทเรียนจากผู้เข้าร่วมโครงการจากตัวแทนกลุ่มต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 : ตัวแทนจากกลุ่มนักศึกษาต่างประเทศ กลุ่มที่ 2 : ตัวแทนกลุ่มนักศึกษาไทย กลุ่มที่ 3 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาชาย กลุ่มที่ 4 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาหญิง กลุ่มที่ 5 : นักศึกษาทั่วไป

สรุปผลจากกลุ่มทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1.จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในชุมชน
จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนทั้งสิ้นประมาณ 8 จุดเสี่ยง คือ - 3 แยกสปอร์ตไลท์ - 3 แยกทางไป จาเราะบองอ - บริเวณหน้ากุโบร์โสร่ง - ทางเข้าบ้านโสร่งสายยะลา-ปัตตานี - ทางโค้งหน้า โรงเรียน บ้านต้นสน - 3แยกหัวโค้งมัสยิดจาโระสโตร์ - ทางแยกตัดทางหลวง ยะลา-ปัตตานี - ถนนเส้นหลังทางเข้ายะลา

  1. จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในมหาวิทยาลัย จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น ประมาณ 10 จุดเสี่ยง คือ

- บริเวณหน้าประตูมหาวิทลัยฟาฏอนี - บริเวณซุ้มโค้งหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา - บริเวณทางโค้งคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ - บริเวณทางโค้งทางขึ้นศูนย์กุรอาน - บริเวณทางขึ้นหอพัก - ถนนเส้นทางเข้าคณะศึกษาศาสตร์ - ถนนเส้นหน้ามัสยิดฮะรอมัยน์ทางไปคณะวิทยาศาสตร์ - ถนนหน้าสนามบาสเก็ตบอล - ทางขึ้นอาคารเฉลิมพระเกียรติ - วงเวียนหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา

  1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนน จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนทั้งสิ้น ประมาณ 10 ปัจจัย

- ขับรถด้วยความประมาท - ไม่ทราบถึงกฎหมายจราจร - ไม่ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ทัศนวิสัยในการใช้ถนนไม่ดี - สภาพพื้นผิวถนนเป็นปัญหา - ป้ายสัญลักษณ์ไม่เพียงพอ - ไฟถนนไม่เพียงพอ - มีสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านอยู่บนท้องถนน - จุดตรวจของทหารวางแคบเกินไปเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - มีดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน

  1. แนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุ จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุทั้งสิ้น ประมาณ 10 แนวทาง

- รณรงค์ให้ขับรถด้วยความไม่ประมาท - รณรงค์ให้ทราบถึงกฎหมายจราจร - รณรงค์ให้ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ปรับทัศนวิสัยในการใช้ถนนให้ดีขึ้น - แก้ไขสภาพพื้นผิวถนน - เพิ่มป้ายสัญลักษณ์จราจร ตาม 3 สาม และ 4 แยกให้เพียงพอ - เพิ่มไปกระพริบสีส้มตามตาม 3 สาม และ 4 แยกเพื่อให้การมองเห็นได้ชัด - เพิ่มไฟถนนให้เพียงพอ - จัดระเบียบสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านไม่ให้มาอยู่บนท้องถนน - แก้ไขจุดตรวจของทหารให้เหมาะสมไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - แก้ปัญหาดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน (3) กิจกรรมหลักที่ 3 - จัดติดตามผลการดำเนินงาน -รวบรวมเอกสารเพื่อประกอบการสรุปผลการดำเนินงาน -สรุปโคงการเป็นเอกสารและพร้อมเข้าเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
- ให้นำผลจากการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของผู้เข้าร่วมโครงการไปพัฒนาตามความเหมาะสมต่อไป เช่น ให้มีการติดตั้งป้ายสัญลักษณ์จราจรและไฟเตือนตามสามแยกและสี่แยกต่างๆเพื่อเพิ่มความระมัดระวังให้กับผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่นโยบายรัฐบาล กำหนดให้ดำเนินงานตามโครงการปีแห่งความปลอดภัย เพื่อการก้าวสู่ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (Decade of Action for Road Safety) ที่กำหนดเป้าหมายลดอุบัติเหตุทางถนนลงให้ได้ร้อยละ 50 ปี ต่อปีและโครงการหนึ่งที่สำคัญในนโยบายเรื่องนี้ของรัฐบาล คือโครงการถนนสีขาว คำว่าถนนสีขาว หมายถึงเส้นทางคมนาคมที่หน่วยงานพัฒนา ปรับปรุงให้สัญจรอย่างปลอดภัย รวดเร็ว และสะดวก และรณรงค์ลดอุบัติเหตุจราจรไม่เกิดอุบัติเหตุบนถนน
ปัจจุบันในเขตพื้นที่ตำบลเขาตูม โดยเฉพาะถนนแถวบริเวณมหาวิทยาลัยฟาฏอนี ในพื้นที่ชุมชนบ้านโสร่ง เพราะเป็นเขตชุมชนที่มีประชากรหนาแน่น ซึ่งมีการเกิดอุบัติเหตุทางถนนค่อนข้างบ่อยครั้งในแต่ละเดือน มีข้อมูลโดยประมาณอย่างน้อย 14-16 ครั้ง ทำให้สูญเสียทั้งชีวิตและทรัพย์สินไม่น้อยกล่าวคือ มีเสียชีวิต 4 ราย มีผู้ประสบอุบัติเหตุบนท้องถนน ในช่วงปี 2559 ถือเป็นปัญหาใหญ่ที่มักพบเจอบ่อยครั้งทำให้ประชาชนเสียทรัพย์สินและชีวิตจากอุบัติเหตุบนท้องถนน จากการตรวจสอบปัญหาพบว่า จำนวนนักศึกษาใหม่ นักศึกษาต่างชาติ ที่เข้ามาอาศัยในชุมชนบ้านเโสร่งเพิ่มขึ้นนั้น อันเป็นเหตุทำให้ผู้ขับขี่จักยานยนต์ยังขาดความรู้ในเรื่องของการจราจรและการปฏิบัติตัวตามกฎหมายการจราจร และการขับขี่ที่ไม่ระมัดระมักระวังในชุมชน การขับขี่ที่ประมาท ปัญหาเหล่านี้มักจะเกิดกับเด็กและเยาวชน ที่ยังขาดความเข้าใจทักษะในการขับขี่รถยนต์หรือรถจักรยานยนต์ ด้วยเหตุนี้ ฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนีต้องการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่จะป้องกัน แก้ไขกับปัญหาปัจจัยเสี่ยงทางถนนดังกล่าวข้างต้น ด้วยการเสริมสร้างความปลอดภัยในการจราจร โดยเฉพาะความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนหรือถนนแห่งความปลอดภัยภายในชุมชน เพื่อจะลดผลกระทบด้านความสูญเสียทางอุติเหตุทางถนนให้ลดน้อยลงด้วยการจัดทำโครงการเสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยทางถนนขึ้น โดยได้รับการสนับสนุนเงินงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ตำบลเขาตูมขององค์การบริหารส่วนตำบลเขาตูม อำเภอยะรังจังหวัดปัตตานี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน2. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมหลักที่ 1กิจกรรมหลักที่ 1 : เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนดังนี้ - บรรยายให้ความรู้ด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน - จัดแสดงและสาธิตนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน - เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุ
  2. กิจกรรมหลักที่กิจกรรมหลักที่ 2 : เวทีสรุปถอดบทเรียนและรวบรวมคืนข้อมูลสู่ชุมชนด้วยการรวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหา/ข้อเสนอแนะอุปสรรค 2
  3. กิจกรรมหลักที่ 3การทำสรุปผลการดำเนินงานและรายงาน ด้วยการรวบรวมผลข้อมูลและสรุปผลการประเมิน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนอย่างมีวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจร
  2. เกิดการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมหลักที่ 1กิจกรรมหลักที่ 1 : เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนดังนี้ - บรรยายให้ความรู้ด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน - จัดแสดงและสาธิตนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน - เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุ

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

เวทีอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนด้วย - การให้ความรู้ จัดแสดงและสาธิตนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน - เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุมชน - ทำพื้นที่ มฟน.สวมหมวกกันน็อก100%

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผลการจัดกิจกรรมตามวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. จัดเวทีอบรมเชิงปฏิบัติการเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน
การจัดเวทีให้ความรู้ในครั้งนี้ทางผู้จัดได้ขอความร่วมมือกับทางศูนย์ฮอนด้า บริษัทพิธานมอเตอร์ จังหวัดยะลา ในการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรกระบวนการ  ณ ห้องสัมมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยีและสารสนเทศสำนักวิทยบริการ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 120 คน เนื้อหาในการบรรยายประกอบไปด้วย - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พรบ.ว่าด้วยการขับขี่ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์รถจักรยายนต์ เช่น การสวมใสหมวกนิรภัยที่ถูกต้อง การตรวจความพร้อมของรถจักรยานยนต์ก่อนการขับขี่ - การดูแลบำรุงรักษาสภาพรถจักยานยนต์ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - การเซฟตี้ตัวผู้ขับขี่ ขณะขับขี่รถจักยานยนต์ - ให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร   2. กาจัดแสดงนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน การจัดนิทรรศการ ทางผู้จัดได้ขอความความอนุเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนสื่อต่างๆ ในการจัดแสดงนิทรรศการด้านส่งเสริมวินัยจราจร จากสำนักงานขนส่ง จังหวัดยะลา ประกอบไปด้วยสื่อต่างๆดังนี้
-โปสเตอร์ รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย -โปสเตอร์สัญลักษณ์เครื่องหมายจราจร -วารสารและแผ่นพับให้ความรู้เรื่องระเบียบวินัยจราจร -การฉายวีดีทัศน์เกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน   3. สาธิตการใช้รถใช้ถนนภาคสนาม
ทางศูนย์โตโยต้าพิธานพาณิชณ์จังหวัดปัตตานี ได้มีการสาธิตการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องตามกฎหมายกำหนด ณ บริเวณลานหน้าอาคารเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยจะสาธิตในเรื่องต่อไปนี้ - สาธิตการใช้รถอย่างถูกวิธีเช่นการสตาร์ท การขึ้นรถอย่างถูกวิธี การจอดรถอย่างถูกวิธี การใช้ไฟ การใช้แตรรถ - สาธิตการออกตัวรถ การเบรก การจอดรถ ให้ปลอดภัย และถูกวิธี - การใช้ถนนอย่างถูกวิธีเพื่อปลอดภัยทั้งผู้ขับขี่และผู้ร่วมใช้รถใช้ถนนเช่น การขับให้ตรงเลนส์ การให้สัญญาณไฟเลี้ยวตามกฎหมายกำหนด การให้ทางแก่ผู้ร่วมใช้ถนน - สาธิตการขับรถบนทางแคบและจำกัด - สาธิตการขับรถเมื่อฝนตก
4. เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุมชนและมหาวิทยาลัย
การเดินรณรงค์ปลอดอุบัติเหตุในครั้งนี้จะประกอบด้วยผู้เข้าร่วมจากคณะกรรมการดำเนินงานจัดกิจกรรมจำนวน 20 คน นักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี  จำนวน 113  คน และ
- มีการนำป้ายข้อความรณรงค์เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน - มีมาสคอร์ตร่วมในการเดินขบวนรณรงค์เช่น มาสคอร์ตสัญญาณจราจร มาสคอร์ตสวมหมวกนิรภัย มาสคอร์ตการใช้ป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถ

 

113 0

2. กิจกรรมหลักที่กิจกรรมหลักที่ 2 : เวทีสรุปถอดบทเรียนและรวบรวมคืนข้อมูลสู่ชุมชนด้วยการรวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหา/ข้อเสนอแนะอุปสรรค 2

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

ผลจากการถอดบทเรียนจากผู้เข้าร่วมโครงการจากตัวแทนกลุ่มต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 : ตัวแทนจากกลุ่มนักศึกษาต่างประเทศ กลุ่มที่ 2 : ตัวแทนกลุ่มนักศึกษาไทย กลุ่มที่ 3 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาชาย กลุ่มที่ 4 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาหญิง กลุ่มที่ 5 : นักศึกษาทั่วไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในชุมชน
      จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนทั้งสิ้นประมาณ 8 จุดเสี่ยง คือ

- 3 แยกสปอร์ตไลท์ - 3 แยกทางไป จาเราะบองอ - บริเวณหน้ากุโบร์โสร่ง - ทางเข้าบ้านโสร่งสายยะลา-ปัตตานี - ทางโค้งหน้า โรงเรียน บ้านต้นสน - 3แยกหัวโค้งมัสยิดจาโระสโตร์ - ทางแยกตัดทางหลวง ยะลา-ปัตตานี - ถนนเส้นหลังทางเข้ายะลา

  1. จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในมหาวิทยาลัย จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น ประมาณ  10 จุดเสี่ยง คือ

- บริเวณหน้าประตูมหาวิทลัยฟาฏอนี - บริเวณซุ้มโค้งหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา - บริเวณทางโค้งคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ - บริเวณทางโค้งทางขึ้นศูนย์กุรอาน - บริเวณทางขึ้นหอพัก - ถนนเส้นทางเข้าคณะศึกษาศาสตร์ - ถนนเส้นหน้ามัสยิดฮะรอมัยน์ทางไปคณะวิทยาศาสตร์ - ถนนหน้าสนามบาสเก็ตบอล - ทางขึ้นอาคารเฉลิมพระเกียรติ - วงเวียนหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา

  1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนน   จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนทั้งสิ้น ประมาณ 10 ปัจจัย

- ขับรถด้วยความประมาท - ไม่ทราบถึงกฎหมายจราจร - ไม่ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ทัศนวิสัยในการใช้ถนนไม่ดี - สภาพพื้นผิวถนนเป็นปัญหา - ป้ายสัญลักษณ์ไม่เพียงพอ - ไฟถนนไม่เพียงพอ - มีสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านอยู่บนท้องถนน - จุดตรวจของทหารวางแคบเกินไปเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - มีดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน

  1. แนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุ   จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุทั้งสิ้น ประมาณ 10 แนวทาง

- รณรงค์ให้ขับรถด้วยความไม่ประมาท - รณรงค์ให้ทราบถึงกฎหมายจราจร - รณรงค์ให้ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ปรับทัศนวิสัยในการใช้ถนนให้ดีขึ้น - แก้ไขสภาพพื้นผิวถนน - เพิ่มป้ายสัญลักษณ์จราจร ตาม 3 สาม และ 4 แยกให้เพียงพอ - เพิ่มไปกระพริบสีส้มตามตาม 3 สาม และ 4 แยกเพื่อให้การมองเห็นได้ชัด - เพิ่มไฟถนนให้เพียงพอ - จัดระเบียบสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านไม่ให้มาอยู่บนท้องถนน - แก้ไขจุดตรวจของทหารให้เหมาะสมไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - แก้ปัญหาดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน

 

133 0

3. กิจกรรมหลักที่ 3 การทำสรุปผลการดำเนินงานและรายงาน ด้วยการรวบรวมผลข้อมูลและสรุปผลการประเมิน

วันที่ 1 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

การทำสรุปผลการดำเนินงานและรายงาน ด้วยการรวบรวมผลข้อมูลและสรุปผลการประเมิน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

การทำสรุปผลการดำเนินงานและรายงาน ด้วยการรวบรวมผลข้อมูลและสรุปผลการประเมิน จุดเด่นของแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครั้งนี้ เป็นโครงการที่นักศึกษาและชุมชนให้ความสนใจเป็นอย่างมากเนื่องจากโครงการดังกล่าวเป็นโครงการที่ประชาคมชาว มหาวิทยาลัยฟาฏอนีต้องการมีส่วนร่วมกับชุมชนที่จะป้องกันและแก้ไขกับปัญหาปัจจัยเสี่ยงทางถนนดังกล่าวข้างต้น ด้วยการเสริมสร้างความปลอดภัยในการจราจร โดยเฉพาะความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนหรือถนนแห่งความปลอดภัยภายในชุมชน เพื่อจะลดผลกระทบด้านความสูญเสียทางอุติเหตุทางถนนให้ลดน้อยลง ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมครั้งต่อไป           - ให้นำผลจากการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของผู้เข้าร่วมโครงการไปพัฒนาตามความเหมาะสมต่อไป เช่น ให้มีการติดตั้งป้ายสัญลักษณ์จราจรและไฟเตือนตามสามแยกและสี่แยกต่าง ๆ

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน2. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาและประชาชนทั่วไปที่เข้าอบรมเกิดวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนน - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายนักศึกษาและประชาชนทั่วไปเกิดการลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน
40.00 3.00 3.00

จำนวนผู้เข้าร่วมทั้งหมดได้ถูกตอบรับเป็นอย่างดี

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150 133
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 0
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 0
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150 133
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อเสริมสร้างวินัยการจราจรและปฏิบัติตามกฎหมายจราจรด้วยการให้เกิดความรู้ ความเข้าใจและมีทักษะของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไป ให้ได้รับความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน 2. เพื่อลดอัตราการเกิดอุบัติเหตุในจุดเสี่ยงของชุมชนลงของการใช้รถใช้ถนนกับนักศึกษาและประชาชนทั่วไปในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมหลักที่ 1
1.1 การจัดเวทีให้ความรู้ในครั้งนี้ทางผู้จัดได้ขอความร่วมมือกับทางบริษัทพิธานภาณิชย์ปัตตานี จำกัดในการเป็นวิทยากรบรรยายและวิทยากรกระบวนการ ณ ห้องสัมมนาชั้น 6 อาคารเทคโนโลยีและสารสนเทศสำนักวิทยบริการ โดยมีผู้เข้าร่วมทั้งสิ้น 133 คน เนื้อหาในการบรรยายประกอบไปด้วย - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย พรบ.ว่าด้วยการขับขี่ - ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์รถจักรยายนต์ เช่น การสวมใสหมวกนิรภัยที่ถูกต้อง การตรวจความพร้อมของรถจักรยานยนต์ก่อนการขับขี่ - การดูแลบำรุงรักษาสภาพรถจักยานยนต์ให้พร้อมใช้งานอยู่เสมอ - การเซฟตี้ตัวผู้ขับขี่ ขณะขับขี่รถจักยานยนต์ - ให้ความรู้เกี่ยวกับวินัยจราจร 1.2 เดินรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในชุมชนและมหาวิทยาลัย
การเดินรณรงค์ปลอดอุบัติเหตุในครั้งนี้จะประกอบด้วยผู้เข้าร่วมจากคณะกรรมการดำเนินงานจัดกิจกรรมจำนวน 113 คน นักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี โดยมีกิจกรรมต่างๆ ในการเดินขบวน ดั้งนี้
-มีการนำป้ายข้อความรณรงค์เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน -มีมาสคอร์ตร่วมในการเดินขบวนรณรงค์เช่น มาสคอร์ตสัญญาณจราจร มาสคอร์ตสวมหมวกนิรภัย มาสคอร์ตการใช้ป้องกันอุบัติเหตุจากการใช้รถ 1.3 กาจัดแสดงนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน การจัดนิทรรศการ ทางผู้จัดได้ขอความความอนุเคราะห์วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนสื่อต่างๆ ในการจัดแสดงนิทรรศการด้านส่งเสริมวินัยจราจร จากสำนักงานขนส่ง จังหวัดยะลา ประกอบไปด้วยสื่อต่างๆดังนี้
-โปสเตอร์ รณรงค์การขับขี่ปลอดภัย -โปสเตอร์สัญลักษณ์เครื่องหมายจราจร -วารสารและแผ่นพับให้ความรู้เรื่องระเบียบวินัยจราจร -การฉายวีดีทัศน์เกี่ยวกับการใช้รถใช้ถนน


(2) กิจกรรมหลักที่ 2 ผลจากการถอดบทเรียนจากผู้เข้าร่วมโครงการจากตัวแทนกลุ่มต่างๆดังนี้ กลุ่มที่ 1 : ตัวแทนจากกลุ่มนักศึกษาต่างประเทศ กลุ่มที่ 2 : ตัวแทนกลุ่มนักศึกษาไทย กลุ่มที่ 3 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาชาย กลุ่มที่ 4 : แกนนำองค์การบริหารนักศึกษาหญิง กลุ่มที่ 5 : นักศึกษาทั่วไป

สรุปผลจากกลุ่มทั้ง 5 กลุ่ม ดังนี้ 1.จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในชุมชน
จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในชุมชนทั้งสิ้นประมาณ 8 จุดเสี่ยง คือ - 3 แยกสปอร์ตไลท์ - 3 แยกทางไป จาเราะบองอ - บริเวณหน้ากุโบร์โสร่ง - ทางเข้าบ้านโสร่งสายยะลา-ปัตตานี - ทางโค้งหน้า โรงเรียน บ้านต้นสน - 3แยกหัวโค้งมัสยิดจาโระสโตร์ - ทางแยกตัดทางหลวง ยะลา-ปัตตานี - ถนนเส้นหลังทางเข้ายะลา

  1. จุดเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุในการใช้ถนนในมหาวิทยาลัย จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงจุดเสี่ยงต่างๆที่มีอยู่ในมหาวิทยาลัยทั้งสิ้น ประมาณ 10 จุดเสี่ยง คือ

- บริเวณหน้าประตูมหาวิทลัยฟาฏอนี - บริเวณซุ้มโค้งหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา - บริเวณทางโค้งคณะอิสลามศึกษาและนิติศาสตร์ - บริเวณทางโค้งทางขึ้นศูนย์กุรอาน - บริเวณทางขึ้นหอพัก - ถนนเส้นทางเข้าคณะศึกษาศาสตร์ - ถนนเส้นหน้ามัสยิดฮะรอมัยน์ทางไปคณะวิทยาศาสตร์ - ถนนหน้าสนามบาสเก็ตบอล - ทางขึ้นอาคารเฉลิมพระเกียรติ - วงเวียนหน้าหอประชุมวันมูหะหมัดนอร์ มะทา

  1. ปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนน จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงปัจจัยที่ทำให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนทั้งสิ้น ประมาณ 10 ปัจจัย

- ขับรถด้วยความประมาท - ไม่ทราบถึงกฎหมายจราจร - ไม่ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ทัศนวิสัยในการใช้ถนนไม่ดี - สภาพพื้นผิวถนนเป็นปัญหา - ป้ายสัญลักษณ์ไม่เพียงพอ - ไฟถนนไม่เพียงพอ - มีสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านอยู่บนท้องถนน - จุดตรวจของทหารวางแคบเกินไปเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - มีดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน

  1. แนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุ จากการที่ถอดบทเรียนดังกล่าวสะท้อนให้เห็นถึงแนวทางการแก้ไขเพื่อลดปัญหาอุบัติเหตุทั้งสิ้น ประมาณ 10 แนวทาง

- รณรงค์ให้ขับรถด้วยความไม่ประมาท - รณรงค์ให้ทราบถึงกฎหมายจราจร - รณรงค์ให้ทราบวิธีการใช้รถอย่างถูกวิธี - ปรับทัศนวิสัยในการใช้ถนนให้ดีขึ้น - แก้ไขสภาพพื้นผิวถนน - เพิ่มป้ายสัญลักษณ์จราจร ตาม 3 สาม และ 4 แยกให้เพียงพอ - เพิ่มไปกระพริบสีส้มตามตาม 3 สาม และ 4 แยกเพื่อให้การมองเห็นได้ชัด - เพิ่มไฟถนนให้เพียงพอ - จัดระเบียบสัตว์เลี้ยงของชาวบ้านไม่ให้มาอยู่บนท้องถนน - แก้ไขจุดตรวจของทหารให้เหมาะสมไม่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ - แก้ปัญหาดินไสลด์ลงบนพื้นผิวถนน (3) กิจกรรมหลักที่ 3 - จัดติดตามผลการดำเนินงาน -รวบรวมเอกสารเพื่อประกอบการสรุปผลการดำเนินงาน -สรุปโคงการเป็นเอกสารและพร้อมเข้าเล่ม

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1)
- ให้นำผลจากการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของผู้เข้าร่วมโครงการไปพัฒนาตามความเหมาะสมต่อไป เช่น ให้มีการติดตั้งป้ายสัญลักษณ์จราจรและไฟเตือนตามสามแยกและสี่แยกต่างๆเพื่อเพิ่มความระมัดระวังให้กับผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่วนที่ 3 ประเมินคุณค่าโครงการ

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ

ชื่อโครงการ โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3

รหัสโครงการ 62-L3027-02-03 ระยะเวลาโครงการ 1 มีนาคม 2562 - 20 สิงหาคม 2562

แบบประเมินคุณค่าของโครงการที่เกี่ยวข้องกับการสร้างเสริมสุขภาพ เป็นการคุณค่าที่เกิดจากโครงการในมิติต่อไปนี้

  • ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพและนวัตกรรมเชิงระบบสุขภาพชุมชน
  • การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่มีผลต่อสุขภาวะ
  • การปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาวะ
  • ผลกระทบเชิงบวกและนโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อการสร้างสุขภาวะชุมชน
  • กระบวนการชุมชน
  • มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่

1. เกิดความรู้ หรือ นวัตกรรมชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้ใหม่ / องค์ความรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สิ่งประดิษฐ์ / ผลผลิตใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. กระบวนการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. วิธีการทำงาน / การจัดการใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การเกิดกลุ่ม / โครงสร้างในชุมชนใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. แหล่งเรียนรู้ใหม่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
99. อื่นๆ

 

 

 

2. เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เอื้อต่อสุขภาพ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การบริโภค

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การออกกำลังกาย

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. การลด ละ เลิก อบายมุข เช่น การพนัน เหล้า บุหรี่

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. การลดพฤติกรรมเสี่ยง เช่น พฤติกรรมเสี่ยงทางเพศ การขับรถโดยประมาท

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. การจัดการอารมณ์ / ความเครียด

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. การดำรงชีวิต / วิถีชีวิต เช่น การใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น / สมุนไพรในการดูแลสุขภาพตนเอง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
8. พฤติกรรมการจัดการตนเอง ครอบครัว ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
9. อื่นๆ

 

 

 

3. การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (กายภาพ สังคม และเศรษฐกิจ)

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. กายภาพ เช่น มีการจัดการขยะ ป่า น้ำ การใช้สารเคมีเกษตร และการสร้างสิ่งแวดล้อมในครัวเรือนที่ถูกสุขลักษณะ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. สังคม เช่น มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ลดการเกิดอุบัติเหตุ ครอบครัวอบอุ่น การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อเด็ก เยาวชน และกลุ่มวัยต่าง ๆ มีพื้นที่สาธารณะ/พื้นที่ทางสังคม เพื่อเอื้อต่อการส่งเสริมสุขภาพของคนในชุมชน มีการใช้ศาสนา/วัฒนธรรมเป็นฐานการพัฒนา

1 มีการอบรมเชิงให้ความรู้ด้านการจารจรเพื่อเสริมสร้างความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนด้วย 2 มีการให้วามรู้เชิงจัดแสดงนิทรรศการด้านวินัยจราจรเพื่อความปลอดภัยทางถนน 3 มีการสาธิตการขับขี่ปลอดภัย และการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องตาม พรบ. ว่าด้วยการขับขี่ใช้รถใช้ถนน 4 ร่วมเดินขบวนรณรงค์ถนนปลอดอุบัติเหตุภายในมหาวิทยาลัยและชุมชนใกล้เคียง 5 เวทีสรุปถอดบทเรียนและรวบรวมคืนข้อมูลสู่ชุมชนด้วยการรวบรวมข้อมูลและสรุปปัญหา/ข้อเสนอแนะอุปสรรค

ใบลงทะเบียนผู้เข้าร่วม รูปถ่าย

  • ให้นำผลจากการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขของผู้เข้าร่วมโครงการไปพัฒนาตามความเหมาะสมต่อไป เช่น ให้มีการติดตั้งป้ายสัญลักษณ์จราจรและไฟเตือนตามสามแยกและสี่แยกต่างๆเพื่อเพิ่มความระมัดระวังให้กับผู้ขับขี่รถยนต์และรถจักรยานยนต์
คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. เศรษฐกิจสร้างสรรค์สังคม /สร้างอาชีพ / เพิ่มรายได้

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการบริการสุขภาพทางเลือก และมีช่องทางการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. อื่นๆ

 

 

 

4. การพัฒนานโยบายสาธารณะที่เอื้อต่อสุขภาวะ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. มีกฎ / กติกา ของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. มีมาตรการทางสังคมของกลุ่ม ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. มีธรรมนูญของชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. อื่นๆ เช่น ออกเป็นข้อบัญญัติท้องถิ่น ฯลฯ

 

 

 

5. เกิดกระบวนการชุมชน

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. เกิดการเชื่อมโยงประสานงานระหว่างกลุ่ม / เครือข่าย (ใน และหรือนอกชุมชน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเรียนรู้การแก้ปัญหาชุมชน (การประเมินปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมิน)

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ประโยชน์จากทุนในชุมชน เช่น การระดมทุน การใช้ทรัพยากรบุคคลในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. มีการขับเคลื่อนการดำเนินงานของกลุ่มและชุมชนที่เกิดจากโครงการอย่างต่อเนื่อง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. เกิดกระบวนการจัดการความรู้ในชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. เกิดทักษะในการจัดการโครงการ เช่น การใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ การทำแผนปฏิบัติการ

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
7. อื่นๆ

 

 

 

6. มิติสุขภาวะปัญญา / สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
1. ความรู้สึกภาคภูมิใจในตัวเอง / กลุ่ม / ชุมชน

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
2. การเห็นประโยชน์ส่วนรวมและส่วนตนอย่างสมดุล

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
3. การใช้ชีวิตอย่างเรียบง่าย และพอเพียง

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
4. ชุมชนมีความเอื้ออาทร

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
5. มีการตัดสินใจโดยใช้ฐานปัญญา

 

 

 

คุณค่าที่เกิดขึ้น
ประเด็น
ผลที่เกิดขึ้นรายละเอียด/การจัดการหลักฐาน/แหล่งอ้างอิงแนวทางการพัฒนาต่อ
ใช่ไม่ใช่
6. อื่นๆ

 

 

 

โครงการ เสริมสร้างวินัยจารจรเพื่อความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน ปี 3 จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3027-02-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ฝ่ายพัฒนาศักยภาพนักศึกษา มหาวิทยาลัยฟาฏอนี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด