กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ลดเสี่ยง ลดโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงแก่ประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ในเขตเทศบาลเมืองกันตัง ปี 2562

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. จัดอบรมเชิงปฏิบัติการแก่แกนนำสุขภาพในชุมชน เพื่อร่วมดำเนินงานคัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ซึ่งมีแกนนำสุขภาพในชุมชนเข้ารับการอบรม จำนวน 100 คน เมื่อวันที่ 11 มีนาคม 2562 ณ อาคารคอซิมบี๊ เทศบาลเมืองกันตัง ซึ่งมีการดำเนินกิจกรรมดังนี้   1.1 มีการทดสอบความรู้ก่อนและหลังการอบรม ผลการทดสอบมีดังนี้   ประเมินความรู้ผู้เข้ารับการอบรม ก่อนและหลังการอบรม ซึ่งใช้แบบประเมินความรู้เรื่อง การวัดความดันโลหิต-การแปลผล, การตรวจน้ำตาลในเลือด (ปลายนิ้ว)-การแปลผล, ดัชนีมวลกายและการวัดรอบเอว-การแปลผล , 3 อ. 2 ส. ป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ, ปิงปองจราจรชีวิต 7 สี (คำถามแบบกากบาทถูกหรือผิดหน้าข้อความ จำนวน 15 ข้อๆ ละ 1 คะแนน รวมคะแนนเต็ม 15 คะแนน) สามารถสรุปผลการประเมินได้ ดังนี้   - ก่อนการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 93 ชุด พบว่าผู้เข้ารับการอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 13 คะแนน จำนวน 6 คน คะแนน 12 คะแนน จำนวน 12 คน 11 คะแนน จำนวน 15 คน 10 คะแนน จำนวน 19 คน 9 คะแนน จำนวน 12 คน  8 คะแนน จำนวน 18 คน 7 คะแนน จำนวน 8 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 6 คะแนน จำนวน 3 คน จะเห็นได้ว่าก่อนการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 10 คะแนนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 20.43  รองลงมาคือ 8 คะแนนและ 11 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 19.35 และ 16.13 ตามลำดับดังตาราง   - หลังการอบรม ซึ่งได้รับแบบประเมินคืน จำนวน 89 ชุด พบว่าผู้เข้าอบรมได้รับคะแนนสูงสุดอยู่ที่ 15 คะแนน จำนวน 5 คน รองลงมาคือ 14 คะแนน จำนวน 10 คน 13 คะแนน จำนวน  19 คน 12 คะแนน จำนวน 13 คน 11 คะแนน จำนวน 12 คน 10 คะแนนจำนวน 12 คน 9 คะแนน จำนวน 10 คน และคะแนนต่ำสุดอยู่ที่ 8 คะแนน จำนวน 8 คน จะเห็นได้ว่าหลังการอบรมผู้เข้าอบรมส่วนใหญ่ได้รับคะแนน 13 คะแนนมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 21.35 รองลงมาคือ 12 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 14.61 ตามลำดับ   1.2 ฝึกปฏิบัติโดยจัดเป็นฐานให้ความรู้ 4 ฐานพร้อมทำแบบประเมินทักษะการเข้าฐาน ดังนี้
        ฐานที่ 1 การวัดความดันโลหิตที่ถูกวิธีและการแปลผล   ฐานที่ 2 การเจาะหาน้ำตาลในเลือดจากปลายนิ้วและการแปลผล   ฐานที่ 3 การวัดรอบเอว การคำนวณค่าดัชนีมวลกายและการแปลผล   ฐานที่ 4 การจำแนกกลุ่มตามความเสี่ยงด้วยปิงปองจราจรชีวิต 7 สี
  2. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขร่วมกับแกนนำสุขภาพในชุมชน ปฏิบัติงานคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง สรุปผลดำเนินงาน ดังนี้ ชุมชนป่ามะพร้าว
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 37 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 23 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 13 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน  1 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 13 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 6 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 5 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 1 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน 1 คน ชุมชนป่าไม้
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 53 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 46 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 4 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 3 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 8 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 8 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 3 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน ๑ คน ชุมชนโรงพยาบาลกันตัง
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 51 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 31 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 19 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 1 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 14 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 2 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 10 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 2 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน - คน ชุมชนหลาโป
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 38 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 25 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 11 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 2 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 9 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 4 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 5 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน - คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน - คน ชุมชนหน้าค่าย
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 50 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 37 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 11 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 2 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 15 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 8 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 1 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน - คน ชุมชนชุมสายโทรศัพท์
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 48 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 25 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 20 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 3 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 14 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 5 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 3 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน - คน ชุมชนหลังโรงเรียนคลองภาษี
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 16 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 14 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 2 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน - คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 11 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 4 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 7 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน - คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน - คน ชุมชนในทอน
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 25 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 17 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 7 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 1 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 12 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 4 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 6 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 1 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน 1 คน ชุมชนหลังสโมสรเก่า
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 49 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 24 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 17 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 8 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 21 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 11 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 5 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 5 คน มีภาวะวิกฤตเสี่ยงต่อการเกิดความรุนแรงของโรคมาก จำนวน 0 คน ชุมชนตลาดใต้
    กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 31 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 20 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 10 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 1 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 11 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 7 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 4 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 0 คน ชุมชนตรอกลิเก กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 32 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 17 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 11 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 4 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 29 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 11 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 15 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 3 คน ชุมชนกิตติคุณ กลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 33 คน พบ มีภาวะปกติ จำนวน 20 คน ภาวะเสี่ยงที่มีแนวโน้มอาจป่วยเป็นโรค จำนวน 13 คน ภาวะสงสัยต่อการป่วยเป็นโรค จำนวน 0 คน กลุ่มเป้าหมายที่ป่วยเป็นโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง จำนวน 15 คน พบ มีความสามารถคุมโรคได้ดี จำนวน 7 คน มีความสามารถคุมโรคได้ไม่ดีดีต้องเฝ้าระวัง จำนวน 5 คน มีภาวะอันตรายต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนของโรค จำนวน 3 คน
    1. กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเชิงรุกในชุมชน 12 ชุมชนแก่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นกลุ่มเสี่ยงจำนวน 120 คน ซึ่งดำเนินการระหว่างวันที่ 11 กรกฎาคม – 22 สิงหาคม 2562 มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมรวมจำนวน 147 คน ในรายที่พบภาวะเสี่ยงได้ให้สุขศึกษาเรื่อง 3 อ. 2 ส. ในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมองและหัวใจ พร้อมนัดคัดกรองโรคซ้ำหลังการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 เดือน
      ในรายที่สงสัย ได้ให้สุขศึกษาเรื่อง 3 อ. 2 ส.  ในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง/หลอดเลือดสมองและหัวใจ และติดตามวัดความดันโลหิตซ้ำ 14 วัน  โดยประสานแกนนำ สุขภาพ ในการดำเนินการ พร้อมส่งข้อมูลให้เจ้าหน้าที่ประเมิน เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและนัดพบประเมินอีก 3 เดือน ถ้าพบผิดปกติจะได้ส่งต่อเพื่อไปรับการตรวจวินิจฉัยที่โรงพยาบาลกันตัง
      ในรายที่พบภาวะน้ำตาลในเลือดสูงผิดปกติ สงสัยป่วยเป็นโรคเบาหวาน  ได้ให้สุขศึกษาเรื่อง
      3 อ. 2 ส. ในการดูแลตนเองป้องกันการเกิดโรคเบาหวาน พร้อมนัดติดตามเจาะน้ำตาลในเลือดซ้ำศูนย์บริการสาธารณสุข เทศบาลเมืองกันตัง พบผิดปกติ 2 ราย ได้ส่งต่อเพื่อไปรับการตรวจวินิจฉัยที่โรงพยาบาลกันตัง 2 ราย
      ในกลุ่มเป้าหมายที่ไม่ได้เข้าร่วมคัดกรองเจ้าหน้าที่ จะดำเนินการต่อไปจนถึงเดือนธันวาคม 2562 และได้ประสานแกนนำสุขภาพในชุมชนคัดกรองในพื้นที่ที่รับผิดชอบเพื่อหากลุ่มเสี่ยงและสงสัย เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ลดการเกิดโรค  และผู้ที่สงสัยว่าป่วยเข้ารับการตรวจวินิจฉัยต่อไป
  3. บันทึกข้อมูลการคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ลงโปรแกรมระบบฐานข้อมูลสถานีอนามัย ( HOSXp_PCU ) สรุปผลการดำเนินงานคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2561 – กันยายน 2562 มีดังนี้
    • โรคความดันโลหิตสูง ได้รับการคัดกรอง 4410 คน ร้อยละ 90.80 แยกเป็นกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรอง 1,240 คน คิดเป็นร้อยละ 87.63/ประชากร 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ได้รับดการคัดกรอง จำนวน 3,170 คน ร้อยละ 92.10
    • โรคเบาหวาน ได้รับการคัดกรองจำนวน 4,278 คน ร้อยละ 90.79 แยกเป็นกลุ่มป่วยได้รับการคัดกรอง  529 คน คิดเป็นร้อยละ 86.30/ประชากร 35 ปีขึ้นไปที่ไม่ป่วยด้วยโรคเบาหวาน ได้รับดการคัดกรอง จำนวน 3,749 คน ร้อยละ 91.46 ที่มา : http://www.tro.moph.go.th/chronic
  4. สรุปค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานโครงการ จำนวน 30,400 บาท รายะเอียดดังนี้ 4.1 กิจกรรมอบรม เป็นเงิน 25,032 บาท ดังนี้   - ค่าวิทยากรบรรยายและเข้าฐานความรู้ เป็นเงิน 9,000 บาท   - ค่าอาหารกลางวัน  เป็นเงิน 7,000 บาท   - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  เป็นเงิน 6,000 บาท   - ค่าเอกสารประกอบการอบรมและเอกสารอื่นๆ เป็นเงิน  680 บาท   - ค่าวัสดุอุปกรณ์ อื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เป็นเงิน 2,052 บาท   - ค่าป้ายโครงการ เป็นเงิน  300  บาท 4.2 กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองฯ  เป็นเงิน 1,528 บาท ดังนี้   - ค่าป้ายประชาสัมพันธ์ เป็นเงิน  300 บาท   - ค่าเอกสารแบบคัดกรอง เป็นเงิน  128 บาท   - ค่าวัสดุทางการแพทย์  เป็นเงิน  1,100 บาท 4.3 กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมฯ เป็นเงิน 3,840 บาท ดังนี้   - ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมกิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในชุมชน  เป็นเงิน  3,600 บาท
      - ค่าเอกสารแบบประเมินความรู้และพฤติกรรม  เป็นเงิน  240 บาท

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ของประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง
0.00

 

2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ตรวจคัดกรองพบมีความเสี่ยงได้รับความรู้ในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้และทักษะ สามารถร่วมดำเนินงาน คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 3417 4410
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 3,417 4,410
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง (2) เพื่อให้ประชาชนกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไปที่ตรวจคัดกรองพบมีความเสี่ยงได้รับความรู้ในการจัดการสุขภาพหรือการดูแลสุขภาพตนเอง (3) เพื่อให้ผู้ที่มีภาวะเสี่ยงต่อโรค Metabolic ได้รับการขึ้นทะเบียนกลุ่มเสี่ยง และผู้ที่สงสัยจะป่วยหรือเป็นโรคได้รับการส่งต่อเพื่อรับการรักษา (4) เพื่อให้แกนนำสุขภาพในชุมชน มีความรู้และทักษะ สามารถร่วมดำเนินงาน คัดกรองความเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงร่วมกับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ (2) กิจกรรมรณรงค์ตรวจคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (3) กิจกรรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพเชิงรุกในชุมชนแก่กลุ่มเสี่ยง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...ปัญหา/อุปสรรค (ระบุ) 1. ประชาชนบางส่วนยังไม่เห็นความสำคัญและเกิดความตระหนักของการตรวจคัดกรองภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. ประชาชนบางส่วนทำงานประมง/ออกเรือไม่อยู่ในพื้นที่ช่วงดำเนินการตรวจคัดกรอง
แนวทางการแก้ไข (ระบุ) 1. เพิ่มการประชาสัมพันธ์/ รณรงค์/ ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อเรื้อรังเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงประชาสัมพันธ์ทุกช่องทางเพื่อกระตุ้นให้ประชาชนตื่นตัวในการดูแลสุขภาพตระหนักเห็นความสำคัญของการคัดกรอภาวะเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
2. พัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพชุมชน ในการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงและช่วยประเมิน/ติดตาม เพื่อป้องกันการเกิดผู้ป่วยรายใหม่

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh