กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว


“ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ”

ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

หัวหน้าโครงการ
นางสาววีรยา เพชรหนู

ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1529-1-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 62-L1529-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 32,780.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่างิ้ว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคมะเร็งเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทยทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมากโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่งในประเทศไทยจากข้อมูลสถิติสาธารณสุขปี พ.ศ.2546(สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548)พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งของประชากรไทยมีแนวโน้มสูงขึ้นและโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดในประเทศไทยได้แก่มะเร็งตับมะเร็งปอดมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรีไทยโรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิด (สถาบันมะเร็งแห่งชาติ, 2548) นอกจากนี้ยังพบว่า การตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอน ที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำPap smearหรือVIA ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้เห็นความสำคัญของปัญหาจึงให้การสนับสนุนงบประมาณการดำเนินงานโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแก่กระทรวงสาธารณสุข โดยมอบให้สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ดำเนินโครงการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีPap smearและVIA ในสตรีไทยอายุ30-60ปีกำหนดเกณฑ์ตัวชี้วัด ร้อยละของสตรี 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกสะสม ผลงาน พ.ศ. 2558 – 2562ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่างิ้ว ตำบลท่างิ้ว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง เห็นความสำคัญของปัญหานี้ เนื่องจากตั้งแต่ปี 2558 จนถึง 2560 สตรีกลุ่มอายุ 30 – 60 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ได้เพียง ร้อยละ 47.39 (435 ราย) จากเป้าหมาย 919 คน ซึ่งในปี 256๑ ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูก เพิ่มเป็น ร้อยละ 82.37 (757 ราย)และตรวจพบผิดปกติ ส่งต่อพบแพทย์ จำนวน 2 ราย ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพท่างิ้วจึงได้ดำเนินการจัดทำ โครงการเพิ่มการเข้าถึงบริการคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในปีงบประมาณ 2562 เพื่อแก้ไขปัญหาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐
  2. ๒. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐
  3. 3.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ,ตรวจ PAP และตรวจเต้านมโดย จนท.

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 945
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐     ๒. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐     3.สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ,ตรวจ PAP และตรวจเต้านมโดย จนท.

วันที่ 12 กรกฎาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.ขั้นเตรียมการ 1.1. ประชุมคณะกรรมการเทศบาลตำบลท่างิ้ว  เพื่อขอความเห็นชอบในการจัดทำโครงการ 1.2. จัดทำโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณกองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลตำบลท่างิ้ว 1.3. จัดเตรียมสถานที่ อุปกรณ์  และเอกสารประกอบการอบรม

2.ขั้นตอนการดำเนินงาน           2.1.กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสำรวจกลุ่มหญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปีที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบ                   -จัดทำแผ่นพับความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและเรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง           2.2 กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง  ,ตรวจ PAP และตรวจเต้านมโดย จนท. - เชิญหญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปีที่อยู่ในพื้นที่รับผิดชอบเพื่อเข้ารับการอบรมความรู้ - ให้ความรู้ เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเองและตรวจ PAP โดย จนท. - แจกแผ่นพับความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและการตรวจเต้านมด้วยตนเอง             2.3.กิจกรรมที่ 3 ตรวจมะเร็งปากมดลูก และตรวจเต้านมหญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปี - นัดตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านม หญิงอายุ ๓๐-๖๐ ปี ที่ รพ.สต.ท่างิ้ว - ค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐         ๒. สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐         3.สามารถค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบได้

 

945 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐
ตัวชี้วัด : ๑. สตรีกลุ่มเสียงอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก
945.00

 

2 ๒. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐
ตัวชี้วัด : ๒. สตรีกลุ่มเสียงอายุ ๓๐ ปีขึ้นไปได้รับความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้อย่างถูกต้อง
945.00

 

3 3.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด : ๓. ประเมินความพึงพอใจและสรุปผลการ
945.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 945
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 945
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๐ – ๖๐ ปี ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและตรวจเต้านมอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ (2) ๒. เพื่อให้สตรีกลุ่มเสี่ยงอายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป มีความรู้และสามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองได้ถูกต้องอย่างน้อย ร้อยละ ๘๐ (3) 3.เพื่อค้นหาผู้ป่วยรายใหม่และส่งต่ออย่างเป็นระบบ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่องการตรวจเต้านมด้วยตนเอง ,ตรวจ PAP และตรวจเต้านมโดย จนท.

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 62-L1529-1-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาววีรยา เพชรหนู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด