กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางนูรอาซลีนา สาแลแม

ชื่อโครงการ โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2562 ถึง 31 ธันวาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8300-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2562 - 31 ธันวาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 23,100.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลกร้อนที่เกิดขึ้นกับพื้นที่ทั่วโลกส่งผลต่อการพัฒนาการและวิวัฒนาการของโรคต่างๆขึ้นมามากมาย โดยเฉพาะโรคติดต่อ / โรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นหรือโรคที่กลับมาเป็นใหม่ขึ้น ซึ่งโรคติดต่อเหล่านี้จะแพร่กระจายและระบาดทุกพื้นที่โดยใช้เวลาที่รวดเร็ว จากสถานการณ์การเกิดโรคติดต่อในพื้นที่ตำบลแว้งในปีงบประมาณ 2561 สรุป 10 อันดับโรคดังนี้

ลำดับที่      ชื่อ-โรค        จำนวนป่วย      อัตราป่วยต่อแสน                                             ประชากร 1.        อุจจาระร่วง          192            1377.73 2.        ปอดบวม          31              222.38 3.        ไข้หวัดใหญ่      20              143.47 4.        โรคตาแดง          20              143.47 5.        สุกใส          16              114.78 6.        ไข้หรือไข้ไม่ทราบสาเหตุ  11          78.91 7.        โรคมือเท้าปาก        6          43.04 8.        โรคเพศสัมพันธ์อื่นๆ    3          21.52 9.        ไข้เลือดออก        2          14.35 10.        ไข้เดงกี่            2          14.35

จากอัตราป่วย 10 อันดับโรคของตำบลแว้งปี 2561 พบว่า ผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงพบอัตราป่วยสูงที่สุด และยังคงเป็นโรคที่มีอัตราป่วยสูงสุดทุกปี ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น โดยสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์อำเภอแว้งในเรื่องของงานควบคุมโรค โรงพยาบาลแว้งร่วมกับองค์การบริหารส่วนตำบลแว้ง จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/ โรคอุบัติใหม่ ปี2562

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
  2. ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
  3. ข้อที่ 3เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 งานโรคอุจจาระ (ร้อนอาหารสะดวก บริโภคปลอดภัย)
  2. กิจกรรมที่ 2 งานป้องกันควบคุมโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)
  3. กิจกรรมที่ 3 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ป้องก่ันได้ด้วยวัคซีน
  4. กิจกรรมที่ 4 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ระบาดท่เป็นปัญหาในพื้นที่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้ง ลดลงตามเป้าหมายและตัวชี้วัด
      2. ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้         3. ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ 2 งานป้องกันควบคุมโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)

วันที่ 6 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและประสานกับหน่วยงานชุมชนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดเตรียมพื้นที่  วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการฯ
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย             5.    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล(ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)             6.  จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและติดตามฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรคร่วมกับอสม.             7.  จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชน และประชาชนในพื้นที่             8.  สถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เกิดในพื้นที่ 9.  สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่แก่เยาวชน  นักเรียน  ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่
  5. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งดำเนินการสอบสวนโรคและดำเนินการควบคุม มีมาตรการป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่ทุกราย
  6. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้มีรายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกเดือน
  7. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามและฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
    1. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 2 งานป้องกันควบคุมโรคตามฤดูกาล(ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส) โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่  หากไม่ได้รับการแก้ไข และประชาชนไม่ได้มีความตระหนักในปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ และชุมชนที่เกิดโรคติดต่อขึ้นในบริเวณกว้าง  ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน  ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น  ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 การจัดทำโครงการฯในครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ 3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ การจัดโครงการฯในครั้งนี้ ได้จัดขึ้นเป็นเวลา 3 วันโดยวันที่ 6 สิงหาคม 2562 ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส) วันที่ 7 สิงหาคม 2562 ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและติดตามฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรคร่วมกับอสม. วันที่ 8 สิงหาคม 2562 ได้จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลแว้ง
โดยกิจกรรมที่ได้จัดขึ้นเป็นกิจกรรมแรก ได้แก่กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส) ซึ่งได้จัดขึ้นในวันที่ 6 สิงหาคม 2562 การจัดโครงการฯในครั้งนี้ได้เชิญคุณรูซือมัน อาแวเง๊าะ สาธารณสุขอำเภอจะแนะมามอบความรู้เกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)ให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯทราบและได้เชิญคุณสิทธิพร ศิริไพรวัน นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการมาให้ความรู้เรื่องสถานการณ์ของโรคติดต่อตามฤดูกาลให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯรับทราบ การดำเนินโครงการฯในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการฯทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

60 0

2. กิจกรรมที่ 3 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ป้องก่ันได้ด้วยวัคซีน

วันที่ 7 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและประสานกับหน่วยงานชุมชนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดเตรียมพื้นที่  วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการฯ
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย             5.    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล(ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)             6.  จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและติดตามฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรคร่วมกับอสม.             7.  จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชน และประชาชนในพื้นที่             8.  สถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เกิดในพื้นที่ 9.  สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่แก่เยาวชน  นักเรียน  ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่
  5. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งดำเนินการสอบสวนโรคและดำเนินการควบคุม มีมาตรการป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่ทุกราย
  6. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้มีรายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกเดือน
  7. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามและฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
    1. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 3 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่  หากไม่ได้รับการแก้ไข และประชาชนไม่ได้มีความตระหนักในปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ และชุมชนที่เกิดโรคติดต่อขึ้นในบริเวณกว้าง  ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน  ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น  ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 การจัดทำโครงการฯในครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
2.เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ 3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ การจัดโครงการฯในครั้งนี้ ได้จัดขึ้นในวันที่ 7 สิงหาคม 2562 ได้จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน/รณรงค์ในพื้นที่ร่วมกับอสม.ในการติดตามเด็กที่วัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ การจัดโครงการฯในครั้งนี้ได้เชิญคุณรูซือมัน อาแวเง๊าะ สาธารณสุขอำเภอจะแนะมามอบความรู้เกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อที่ระบาดที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯทราบ ซึ่งโครงการนี้ได้มีการดำเนินงาน 2 ขั้นตอน ขั้นตอนแรกเป็นการอบรมให้ความรู้และขั้นตอนที่ 2 รณรงค์ในพื้นที่ร่วมกับ  อสม.ในการติดตามเด็กที่วัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์ การดำเนินโครงการฯในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการฯทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

60 0

3. กิจกรรมที่ 1 งานโรคอุจจาระ (ร้อนอาหารสะดวก บริโภคปลอดภัย)

วันที่ 8 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและประสานกับหน่วยงานชุมชนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดเตรียมพื้นที่  วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการฯ
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย             5.    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล(ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)             6.  จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและติดตามฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรคร่วมกับอสม.             7.  จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชน และประชาชนในพื้นที่             8.  สถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เกิดในพื้นที่ 9.  สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่แก่เยาวชน  นักเรียน  ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่
  5. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งดำเนินการสอบสวนโรคและดำเนินการควบคุม มีมาตรการป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่ทุกราย
  6. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้มีรายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกเดือน
  7. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามและฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
    1. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จัดซื้ออุปกรณ์ชุดทดสอบโคลิฟอร์มแบคทีเรียขั้น้ต้น Sl-2 เพื่อทำการทดสอบโคลิฟอร์มขั้นต้นในร้านอาหาร แผงลอย

 

0 0

4. กิจกรรมที่ 4 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ระบาดท่เป็นปัญหาในพื้นที่

วันที่ 4 ธันวาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. จัดทำโครงการฯ
  2. ประชุมชี้แจงแนวทางการดำเนินงานและประสานกับหน่วยงานชุมชนทุกระดับที่เกี่ยวข้อง
  3. จัดเตรียมพื้นที่  วัสดุ อุปกรณ์ ในการดำเนินโครงการฯ
  4. จัดกิจกรรมรณรงค์ร้านอาหารสะอาด บริโภคปลอดภัย             5.    จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่แกนนำชุมชน อสม. ครูอนามัยโรงเรียนเกี่ยวกับการควบคุมป้องกันโรคตามฤดูกาล(ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส)             6.  จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนและติดตามฉีดวัคซีนเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์เพื่อป้องกันโรคร่วมกับอสม.             7.  จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชน และประชาชนในพื้นที่             8.  สถานบริการสาธารณสุข ร่วมกับชุมชนในพื้นที่ รณรงค์และประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความตระหนัก ร่วมมือในการดำเนินการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เกิดในพื้นที่ 9.  สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่แก่เยาวชน  นักเรียน  ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนในพื้นที่
  5. สถานบริการสาธารณสุขทุกแห่งดำเนินการสอบสวนโรคและดำเนินการควบคุม มีมาตรการป้องกันโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่พบในพื้นที่ทุกราย
  6. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้แก่อาสาสมัครสาธารณสุข ดำเนินการให้มีรายงานเฝ้าระวังโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาในพื้นที่อย่างต่อเนื่องทุกเดือน
  7. สถานบริการสาธารณสุขให้ความรู้โรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน และรณรงค์ร่วมกับอสม.ออกติดตามและฉีดวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ได้รับวัคซีนไม่ครบตามเกณฑ์
    1. คณะกรรมการบริหารกองทุนฯโรงพยาบาลแว้ง และอสม.ติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการ

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

กิจกรรมที่ 4 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่ โรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่  หากไม่ได้รับการแก้ไข และประชาชนไม่ได้มีความตระหนักในปัญหาเกี่ยวกับการควบคุมและป้องกันโรคที่ถูกวิธีอาจทำให้เกิดแพร่ระบาดของโรคมากขึ้นและก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ และชุมชนที่เกิดโรคติดต่อขึ้นในบริเวณกว้าง  ฉะนั้นในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อจะต้องได้รับการแก้ไขโดยเร่งด่วน  ถูกหลักทางระบาดวิทยาของโรคติดต่อ และประชาชนในพื้นที่ต้องให้ความสำคัญและมีความตระหนักในการควบคุมและป้องกันโรคดังกล่าวขึ้น  ในการนี้จึงได้จัดทำโครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 การจัดทำโครงการฯในครั้งนี้โดยมีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ 3. เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ การจัดโครงการฯในครั้งนี้ ได้จัดกิจกรรมประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่องโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่แก่อสม.คณะกรรมการชุมชนและประชาชนในพื้นที่ตำบลแว้ง ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 8 สิงหาคม 2562 การจัดโครงการฯในครั้งนี้ได้เชิญคุณรูซือมัน อาแวเง๊าะ สาธารณสุขอำเภอจะแนะมามอบความรู้เกี่ยวกับโรคติดต่อที่ระบาดที่เป็นปัญหาในพื้นที่ตำบลแว้งให้ผู้เข้าร่วมโครงการฯทราบพร้อมให้ผู้เข้าร่วมอบรมถอดบทเรียนเรื่องโรคที่เป็นปัญหาและบอกวิธีการควบคุมป้องกันโรคดังกล่าวและนำเสนอเป็นกลุ่ม การดำเนินโครงการฯในครั้งนี้ทางทีมงานหวังเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้เข้าร่วมโครงการฯทุกท่านได้รับความรู้ได้อย่างเต็มที่และสามารถนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ในพื้นที่เขตรับผิดชอบต่อไป เพื่อลดอัตราการระบาดของโรคในปีต่อไป

 

60 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่
ตัวชี้วัด : 1.อัตราป่วยด้วยโรคติดต่อและโรคอุบัติใหม่ที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งลดลงร้อยละ 80
0.00

 

2 ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้
ตัวชี้วัด : 1.ประชาชนมีความรู้ในการดูแลตนเองและสามารถป้องกันตนเองไม่ให้ป่วย ด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ร้อยละ 80
0.00

 

3 ข้อที่ 3เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ชุมชนที่มีการระบาดของโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขในพื้นที่ตำบลแว้งมีการดำเนินการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดต่อดังกล่าวได้อย่างมีประสิทธิภาพร้อยละ 80
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 180
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 120
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1เพื่อเป็นการควบคุมการระบาดของโรคติดต่อในพื้นที่ (2) ข้อที่ 2เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีความรู้และป้องกันตนเองไม่ให้ป่วยด้วยโรคติดต่อที่ป้องกันได้ (3) ข้อที่ 3เพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญอย่างสม่ำเสมอ ต่อเนื่อง และมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 งานโรคอุจจาระ (ร้อนอาหารสะดวก บริโภคปลอดภัย) (2) กิจกรรมที่ 2 งานป้องกันควบคุมโรคตามฤดูกาล (ไข้หวัดใหญ่ ตาแดง สุกใส) (3) กิจกรรมที่ 3 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ป้องก่ันได้ด้วยวัคซีน (4) กิจกรรมที่ 4 งานเฝ้าระวังโรคติดต่อที่ระบาดท่เป็นปัญหาในพื้นที่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการภาคีเข้มแข็งชุมชนร่วมใจ ห่างไกลโรคติดต่อ/โรคอุบัติใหม่ ปี 2562 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางนูรอาซลีนา สาแลแม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด