กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวเจ๊ะอามีเนาะ มะลี

ชื่อโครงการ โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-2-02 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 14 มีนาคม 2562 ถึง 28 มีนาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8300-2-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 14 มีนาคม 2562 - 28 มีนาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 6,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันประเทศไทยกำลังมีการเปลี่ยนแปลงทางการสาธารณสุข ปัญหาสุขภาพส่วนใหญ่พบว่า ผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มขึ้นจากโรคเรื้อรัง ภาวะแทรกซ้อนของหลอดเลือด อุบัติเหตุและการเจ็บป่วยระยะท้ายของชีวิต ปี 2558 รัฐบาลมีนโยบายทีมหมอครอบครัวในการดูแลสุขภาพที่บ้าน โดยเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนให้เกิดการดูแลซึ่งกันและกัน จากการลงเยี่ยมบ้าน ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลแว้ง พบว่า มีผู้ป่วยติดเตียงและติดบ้านทั้งสิ้น จำนวน 50 ราย จำแนกเป็นกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง การขาดกำลังใจ ผู้ดูแลมีความเครียดเกิดปัญหาในครอบครัวตามมา ทั้งยังส่งผลกระทบต่อภาวะเศรษฐกิจในครอบครัว รายจ่ายเพิ่มมากขึ้น การดูแลสุขภาพที่บ้านยังเป็นบทบาทหลักของทีมสุขภาพ ขาดการมีส่วนร่วมในการดูแลของชุมชน ดังนั้นชมรม อสม. เล็งเห็นความสำคัญจึงได้ทำโครงการดูแลสุขภาพที่บ้าน สร้างเครือข่ายชุมชนดูแลผู้ป่วยติดเตียง ปี 2561 ขึ้น เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่ care giver. จิตอาสา, ผู้นำชุมชน, อสม. ได้มีส่วนร่วมในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง สามารถที่จะนำความรู้ที่ได้ไปดูแลญาติ คนใกล้ชิด หรือแนะนำผู้อื่นให้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงได้อย่างถูกต้อง เกิดเครือข่ายการดูแลผู้ป่วยติดเตียงเพิ่มมากขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่1.เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของ อสม./จิตอาสา/ญาติผู้ป่วย ในการดูแล ผู้ป่วยติดเตียงต่อเนื่องที่บ้าน
  2. ข้อที่ 2. เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ครอบครัวของผู้ป่วยติดเตียงจะมีเครือข่ายในการเฝ้าระวังดูแลมากขึ้น 2. ผู้ดูแลเข้าใจเรื่องสุขภาพมากขึ้น เช่น การกิน การออกกำลังกาย การบริหารอารมณ์ให้มีจิตใจดี 3. ผู้ป่วยติดเตียงจะไม่รู้สึกว่าตัวเองถูกทอดทิ้งและจะมีกำลังใจมากขึ้น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

วันที่ 14 มีนาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

  1. อบรม ผู้ดูแลด้านสุขภาพในกลุ่มผู้ป่วยติดเตียง/ผู้ป่วยเรื้องรังและผู้สูงอายุในชุมชน
  2. ประสานงานทีมสุขภาพทุกระดับ
  3. จัดทำทะเบียนข้อมูลผู้ป่วยติดเตียงที่รับการดูแลอย่างต่อเนื่องจากโรงพยาบาล
  4. ติดตามดูแลรักษาผู้ป่วยที่บ้าน
  5. สรุป/วิเคราะห์ประเมินผล

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการคร้งนี้ มีวัคถุประสงค์เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของ อสม./จิตอาสา/ญาติผู้ป่วย ในการดูแล ผู้ป่วยติดเตียงต่อเนื่องที่บ้านและเพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน กิจกรรมในครั้งนี้ซึ่งได้รับความสนใจจากญาติผู้ป่วยได้เป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ไว้ทุกประการ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่1.เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของ อสม./จิตอาสา/ญาติผู้ป่วย ในการดูแล ผู้ป่วยติดเตียงต่อเนื่องที่บ้าน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ดูแลมีความรักต่อการเรียนรู้เพื่อสุขภาพในการดูแลผู้ป่วยติดเตียง 2.ผู้ดูแลบอกต่อเพื่อนบ้านหรือคนใกล้ชิดให้ได้รับความรู้เหมือนตัวเอง 3.ผู้ดูแลให้ความสนใจในการอบรมครั้งนี้และการค้นหาข้อมูลจากที่อื่นและไปปฏิบัติต่อผู้ป่วยติดเตียง
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ป่วยติดเตียงมีสุขภาพกายและสุขภาพใจดีขึ้นตามลำดับ 2.ผู้ป่วยติดเตียงกลับไปฝึกวิธีการออกกำลังสำหรับผู้ป่วยติดเตียงอย่างง่ายที่บ้าน.สร้างแรงจูงใจให้เพื่อนบ้านและคนรอบข้างในการทำตาม
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ดูแลมีการสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังเรื่องสุขภาพ 2.เป็นหูเป็นตาให้เจ้าหน้าที่รัฐในการสอดส่องบ้านที่มีผู้ป่วยติดเตียง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่1.เพื่อพัฒนาด้านองค์ความรู้และทักษะของ อสม./จิตอาสา/ญาติผู้ป่วย ในการดูแล ผู้ป่วยติดเตียงต่อเนื่องที่บ้าน (2) ข้อที่ 2. เพื่อเป็นการบริการเชิงรุกโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพของผู้ป่วยในชุมชน (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้เกิดการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการการดูแลสุขภาพผู้ป่วยติดเตียง จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-2-02

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวเจ๊ะอามีเนาะ มะลี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด