กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการบ้านไร้ควัน ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นายมะสูยี มามะ

ชื่อโครงการ โครงการบ้านไร้ควัน

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-ศ8300-2-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 21 สิงหาคม 2562 ถึง 21 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการบ้านไร้ควัน จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการบ้านไร้ควัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการบ้านไร้ควัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-ศ8300-2-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 21 สิงหาคม 2562 - 21 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตจากบุหรี่ปีละ 40,000 คน หรืออาจจะมากกว่านั้นแต่ละปีรัฐบาลต้องเสียงบประมาณเป็นค่ารักษาโรคที่เกิดจากบุหรี่มากมาย โทษของบุหรี่สมัยนี้มีมากกว่าสมัยก่อนหลายเท่าเนื่องจากบุหรี่มีสารนิโคตินและ ทาร์ ต่ำทำให้คนสูดบุหรี่เข้าปอดให้ลึกๆผู้ที่อยู่กับผู้ที่สูบบุหรี่ก็ได้รับผลเช่นเดียวกันเราเรียกกลุ่มนี้ว่าสูบบุหรี่มือสอง ควันที่ออกจากผู้สูบบุหรี่จะมีสารที่มีขนาดเล็กสามารถเข้าปอดของผู้สูบบุหรี่มือสองผลเสียของการสูบบุหรี่ คือ หลอดเลือดสมอง ตีบ แตก ตัน มีโอกาสตาบอดถาวร โรคปอดและระบบทางเดินหายใจ โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคระบบทางเดินอาหาร โรคระบบทางเดินปัสสาวะ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ โรคเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงแท้งลูกในครรภ์เสี่ยงตาย สารพัดโรคมะเร็งและอาการทางร่างกายอื่นๆ เช่น แก่เร็ว ปากเหม็น ฟันดำ ฯลฯ     “บ้านไร้ควัน” จะเกิดขึ้นได้หรือไม่? การสร้าง “บ้านไร้ควัน” คงเป็นสิ่งที่ยากจะจินตนาการว่าจะเป็นจริงได้หรือ? “ควัน” ในที่นี้หมายถึงควันจาก “บุหรี่” ซึ่งหน่วยงานด้านสาธารณสุขในต่างประเทศ เช่น องค์การอาหารและยาสหรัฐอเมริกา หรือราชวิทยาลัย อายุรแพทย์ลอนดอนในอังกฤษ ได้ตรวจสอบพบและยืนยันว่าอันตรายของบุหรี่เกิดจากสารพิษที่อยู่ใน “ควัน” ผู้ที่ไม่สูบแต่ได้รับควันมีความเสี่ยง มีโอกาสเกิดโรคมะเร็งในปอด นอกจากนี้ มีข้อมูลที่น่าพรั่นพรึงก็คือการพบสารในควันบุหรี่ถึง 7,000 ชนิด แม้สารนิโคตินจะถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงก่อนสารตัวอื่นๆอยู่เสมอ แต่ในความเป็นจริงแล้วไม่ใช่แค่นิโคตินที่ไม่ปลอดภัยต่อสุขภาพ ยังมีสารพิษอีกนับร้อยชนิดรวมอยู่ในควันบุหรี่ และสารเหล่านี้ก็คือสาเหตุหลักของการเกิดโรคภัยไข้เจ็บหลายโรคตลอดมาหน่วยงานรณรงค์เกี่ยวกับบุหรี่มีการเผยแพร่ว่า การสูบบุหรี่ไม่ได้ทำลายสุขภาพของผู้ที่สูบเท่านั้น แต่ควันที่มาจากการพ่นควันของผู้สูบ ควันที่ลอยขึ้นจากการจุดไฟที่ปลายมวนบุหรี่ รวมถึงควันที่หลงเหลืออยู่ในอากาศแม้บุหรี่จะถูกดับไปแล้ว ที่เรียกว่า “ควันบุหรี่ในสภาพแวดล้อม” หรือ “ควันบุหรี่มือสอง” ก็เป็นอันตรายต่อคนที่ไม่สูบบุหรี่ เพราะพวกเขาสามารถสูดควันที่มีสารพิษที่ลอยอยู่ในอากาศเข้าสู่ร่างกายได้และยังมีภัยมืดที่มองไม่เห็นคือ “ควันบุหรี่มือสาม” ยิ่งน่าตระหนกเนื่องจากสารพิษตกค้างจากควันบุหรี่จะติดฝังอยู่ตามเสื้อผ้า เส้นผม เฟอร์นิเจอร์ อุปกรณ์เครื่องใช้ พื้นผิวต่างๆในอาคารบ้านเรือน ในรถยนต์ ซึ่งจะทำให้ร่างกายมีโอกาสดูดซึมสารพิษตกค้างเหล่านี้เข้าไปได้ มีกรณีที่น่าสนใจคือ เมื่อปีที่ผ่านมามีรายงานในวารสารพลอสวัน (Plos One) ว่า นักวิจัยจากมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนียริเวอร์ไซด์ในสหรัฐอเมริกาที่ศึกษาเรื่อง “ควันบุหรี่มือ 3” ได้วิจัยกับหนูทดลองพบว่ามีการต่อต้านสารอินซูลิน ที่มีโอกาสนำไปสู่การเป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 นั่นทำให้นักวิจัยเริ่มค้นคว้าต่อว่า “ควันบุหรี่มือ 3” จะส่งผลเสียต่ออวัยวะส่วนใดบ้างในคนที่ไม่สูบบุหรี่แน่นอนว่าสิ่งที่ต้องรณรงค์กันอย่างเข้มแข็งก็คือการสนับสนุนไม่ให้คนริเริ่มที่จะสูบบุหรี่โดยเฉพาะในเด็กและเยาวชน ส่วนคนที่ยังสูบบุหรี่อยู่หากสามารถเลิกได้ก็จะยิ่งดีที่สุด       ดังนั้นชมรม อสม.ตำบลแว้งจึงเห็นควรมีการจัดโครงการบ้านไร้ควัน สอดรับกับนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขโดยมีหนังสือขอให้อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.)เชิญชวนผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการ 3 ล้าน 3 ปี เลิกสูบบุหรี่ทั่วไทย เทิดไท้องค์ราชัน นส.ที่ สธ 0705.03/4820 ลว. 20 ธันวาคม 2561 โดย ขอให้ อสม.ที่สูบบุหรี่ทุกคนเข้าร่วมโครงการฯ ขอให้เชิญชวนผู้สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการฯให้ได้อย่างน้อย 3 คน ต่ออสม. 1 คน และสุดท้าย ขอให้ อสม.ช่วยรณรงค์การเลิกสูบบุหรี่ในชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบหน้าใหม่
  3. ข้อที่ 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.การอบรมโทษของบุหรี่ วิธีการลด ละ เลิก บุหรี่ อันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อคนใกล้ชิด มิติด้านศาสนา ผลวิจัยทางวิทยาศาสตร์ถึงโทษของบุหรี่ 2.สมุนไพรเลิกบุหรี่

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ โทษภัยของบุหรี่
  2. ผู้สูบหน้าใหม่ลดลง
  3. ผู้เข้ารับการอบรมมีแรงจูงใจในการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.การอบรมโทษของบุหรี่ วิธีการลด ละ เลิก บุหรี่ อันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อคนใกล้ชิด มิติด้านศาสนา ผลวิจัยทางวิทยาศาสตร์ถึงโทษของบุหรี่ 2.สมุนไพรเลิกบุหรี่

วันที่ 21 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ “ต่อต้านพิษภัยควันบุหรี่”         2.เชิญชวนประชาชนและผู้ที่สนใจทั่วไป เข้าร่วมโครงการ           3.กิจกรรมเกมส์ตอบคำถามเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ เพื่อรับของรางวัล/ของที่ระลึก           4.กิจกรรมสันทนาการ           5.กิจกรรมประชาสัมพันธ์ เผยแพร่และแนะนำ การควบคุมการบริโภคยาสูบ และการรณรงค์ เพื่อการลด/ละ/เลิกการสูบบุหรี่ ให้กับเยาวชนและประชาชนทั่วไป 6.ทำรายงานสรุปกิจกรรม โครงการ “โครงการบ้านไร้ควัน”

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่และสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง ซึ่งได้รับความสนใจจากประชาชนได้เป็นอย่างดี กิจกรรมในครั้งนี้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้ารับการอบรมมีความต้องการเลิกสูบบุหรี่ร้อยละ 50 2.ผู้สูบบุหรี่มีการสูบในบ้านลดลงร้อยละ 90 3.ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้สามารถถ่ายทอดให้คนอื่นได้ร้อยละ100
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบหน้าใหม่
ตัวชี้วัด : 1.ลดนักสูบหน้าใหม่ได้ร้อยละ 90 2.ผู้เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้รับบอกต่อไม่ให้มีนักสูบหน้าใหม่ได้ร้อยละ 80 3.สร้างความตระหนักให้นักสูบหน้าใหม่ร้อยละ 100
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง
ตัวชี้วัด : 1.ผู้สูบบุหรี่ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการสูบไม่สูบในชุมชนร้อยละ 80 2.ผู้ผ่านการอบรมสามารถประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้คนสูบบุหรี่เลิกสูบได้ร้อยละ 80 3.มีกฎเกณฑ์การงดสูบบุหรี่ในที่ชุมชนร้อยละ 60
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 80
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ จะได้เกิดความตระหนักถึงโทษภัยของบุหรี่ (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมกลุ่มเสี่ยงไม่เป็นผู้สูบหน้าใหม่ (3) ข้อที่ 3. เพื่อสร้างแรงจูงใจ ส่งเสริมให้เกิดการ ลด ละ เลิก การสูบบุหรี่เพื่อสุขภาพที่ดีของตนเองและผู้อยู่ใกล้เคียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.การอบรมโทษของบุหรี่ วิธีการลด ละ เลิก บุหรี่ อันตรายที่จะเกิดขึ้นต่อคนใกล้ชิด มิติด้านศาสนา ผลวิจัยทางวิทยาศาสตร์ถึงโทษของบุหรี่  2.สมุนไพรเลิกบุหรี่

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการบ้านไร้ควัน จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-ศ8300-2-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายมะสูยี มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด