กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง


“ โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ”

ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

หัวหน้าโครงการ
นางสาวรุสมีนี อาแซ

ชื่อโครงการ โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแว้ง อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 62-L8300-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2562 - 30 มิถุนายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,300.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.แว้ง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พืชสมุนไพรเป็นสิ่งที่อยู่คู่คนไทยมานานซึ่งมีความหลากหลายและเป็นเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละสังคมและวัฒนธรรม การใช้ยาสมุนไพรนั้นตอบสนองความต้องการทางด้านการรักษาสุขภาพและความเจ็บป่วยของประชาชนได้เป็นอย่างดีมาตั้งแต่อดีตด้วยวิถีธรรมชาติบำบัด สมุนไพรไทยเป็นสิ่งที่มีคุณค่าใช้ประโยชน์ได้จริง แต่จากการพัฒนาในทุกด้านที่ยึดการพัฒนาตามระบบทุนนิยม ทำให้ชุมชนมีค่านิยมตามแนวทางของตะวันตกเป็นหลัก โดยเฉพาะด้านการจัดการสุขภาพที่เน้นการพึ่งพิงจากภายนอกเป็นส่วนใหญ่ สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ภูมิปัญญาและองค์ความรู้การดูแลสุขภาพไม่ได้รับการพัฒนา ทำให้ชุมชนได้รับประโยชน์จากพืชสมุนไพรน้อย ทั้งๆที่สมุนไพรเหล่านี้มีอยู่ในชุมชน
        ดังนั้นควรให้ความสำคัญและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน ให้มีสุขภาพที่ดีและมีความรู้ในการนำสมุนไพรไปใช้ในการดูแลสุขภาพของตนเอง จึงควรสนับสนุนและส่งเสริมการดูแลรักษาสุขภาพของตนเอง โดยใช้สมุนไพร การแพทย์พื้นบ้าน ในระดับบุคคล ครอบครัว และชุมชน ให้เป็นไปอย่างถูกต้องเป็นระบบ สามารถปรับประสานการดูแลสุขภาพแผนปัจจุบันได้ ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและการรักษาโรค/อาการเจ็บป่วยเบื้องต้น และเป็นการลดรายจ่ายในการดูแลสุขภาพและรักษาพยาบาล เพื่อให้ประชาชนสามารถพึ่งตนเองได้มากขึ้น นอกจากนี้ควรส่งเสริมการปลูกพืชสมุนไพร ทำสวนสมุนไพรเรียนรู้ในชุมชน สมุนไพร ซึ่งการจัดทำสวนสมุนไพรในโครงการนี้จะเน้นการปลูกสมุนไพรสาธารณสุขมูลฐาน เนื่องจากเป็นสมุนไพรที่กระทรวงสาธารณสุขได้คัดเลือกเพื่อใช้ในการรักษาโรคหรืออาการเจ็บป่วยเบื้องต้นได้ดี เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้สมุนไพรได้อย่างถูกวิธี ถูกต้อง มีความปลอดภัย และเป็นแหล่งรวบรวมสมุนไพรไว้ให้เยาวชนรุ่นหลังได้ทำการศึกษาต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
  2. ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการใช้พืชสมุนไพรเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ
  3. ข้อที่ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้ในเรื่องสมุนไพรในงานสาธาณสุขมูลฐาน
  2. การปลูกสมุนไพรพร้อมป้ายให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้เข้าร่วมโครงการได้รับความรู้การใช้ประโยชน์ของพืชสมุนไพรในการพึ่งพาตนเองเบื้องต้น 2.ผู้เข้าร่วมโครงการได้ปลูกสมุนไพรริมรั้วเพื่อไว้ใช้ภายในครัวเรือนและการรักษาโรค 3.โครงการมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องสมุนไพรและสามารถถ่ายทอดสู่ชุมชนได้
4.มีสวนสมุนไพรเพื่อการศึกษาแก่คนในชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ และเป็นแหล่งผลิตวัตถุดิบสมุนไพร สามารถพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรใช้ในชุมชนได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. การปลูกสมุนไพรพร้อมป้ายให้ความรู้

วันที่ 8 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แว้ง เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมวางแผน กำหนด วัน เวลา สถานที่ ในการจัดโครงการ 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม โดยประสาน อสม.ในพื้นที่ 4.จัดเตรียมสถานที่  วิทยากร อุปกรณ์และแบบฟอร์มต่างๆใช้ในการในการอบรมความรู้สมุนไพร 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน 6.จัดเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์ในการปลูกสมุนไพร
7.ทำกิจกรรมปลูกสมุนไพรประจำบ้าน เช่น รางจืด ไพล ทองพันชั่ง ฟ้าทลายโจร พญายอ กะเพราแดง  ขิง ขมิ้น พลับพลึง มะระขี้นก เป็นต้น 8.ติดตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประเมินผลการปลูกสมุนไพร ภายใน 3 เดือน เดือนละ 1 ครั้งและมีการจัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและแนวทางในการแก้ปัญหา
9. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในกามรจัดโครงการในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจเก่ี่ยวกับการใช้สมุนไพรและกิจกรรมและเพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชนโดยมีกิจกรรมอบรมให้ความรู้สมุนไพรและกิจกรรมปลูกสมุนไพรริมรั้ว กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดี และบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

 

50 0

2. อบรมให้ความรู้ในเรื่องสมุนไพรในงานสาธาณสุขมูลฐาน

วันที่ 7 พฤศจิกายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

1.เขียนโครงการและเสนอโครงการต่อคณะกรรมการบริหากองทุนหลักประกันสุขภาพ อบต.แว้ง เพื่อพิจารณาอนุมัติ 2.ประชุมวางแผน กำหนด วัน เวลา สถานที่ ในการจัดโครงการ 3.ประชาสัมพันธ์โครงการให้กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรม โดยประสาน อสม.ในพื้นที่ 4.จัดเตรียมสถานที่  วิทยากร อุปกรณ์และแบบฟอร์มต่างๆใช้ในการในการอบรมความรู้สมุนไพร 5.ดำเนินการจัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้ยาสมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน 6.จัดเตรียมสถานที่และ อุปกรณ์ในการปลูกสมุนไพร
7.ทำกิจกรรมปลูกสมุนไพรประจำบ้าน เช่น รางจืด ไพล ทองพันชั่ง ฟ้าทลายโจร พญายอ กะเพราแดง  ขิง ขมิ้น พลับพลึง มะระขี้นก เป็นต้น 8.ติดตามกลุ่มเป้าหมาย เพื่อประเมินผลการปลูกสมุนไพร ภายใน 3 เดือน เดือนละ 1 ครั้งและมีการจัดกิจกรรมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นและแนวทางในการแก้ปัญหา
9. สรุปและประเมินผลการดำเนินงาน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ในการจัดโครงการครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้พืชสมุนไพรและเพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน โดยมีกิจกรรมการอบรมให้ความรู้สมุนไพรและกิจกรรมปลูกสมุนไพรริมรั้ว กิจกรรมในครั้งนี้ได้รับความสนใจจากประชาชนเป็นอย่างดีและบรรลุวัตถุประสงค์ตามที่วางไว้ทุกประการ

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น
ตัวชี้วัด : 1.ผู้ผ่านการอบรมร้อยละ 80 ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนอย่างน้อย 5 ชนิด
0.00

 

2 ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการใช้พืชสมุนไพรเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ
ตัวชี้วัด : 1.ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้การใช้พืชสมุนไพรเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ
0.00

 

3 ข้อที่ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.เกิดแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน นำร่อง 5 สถานที่ ได้แก่ ตัวแทนบ้าน อสม. ม.3 และ ม.4 , หมู่ละ 2 บ้าน และ รพ.สต.กรือซอ
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อที่ 1. เพื่อส่งเสริมให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 ปลูกสมุนไพรที่ครัวเรือนในการดูแลสุขภาพเบื้องต้น (2) ข้อที่ 2. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการร้อยละ 80 มีความรู้เกี่ยวกับการใช้พืชสมุนไพรเบื้องต้นในการดูแลสุขภาพ (3) ข้อที่ 3. เพื่อให้มีแหล่งเรียนรู้สวนสมุนไพรในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้ในเรื่องสมุนไพรในงานสาธาณสุขมูลฐาน (2) การปลูกสมุนไพรพร้อมป้ายให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสวนสมุนไพรริมรั้ว เพื่อการดูแลสุขภาพด้วยภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 62-L8300-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวรุสมีนี อาแซ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด