กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง


“ โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ”

ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวแอเสาะ เหนื่องตีบ

ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3045-2-04 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3045-2-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2561 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปิยามุมัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ความสำคัญของมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมมีความสำคัญ เป็นสาเหตุการตายอันดับหนึ่ง  สถานการณ์ของโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของโลก โดยเฉพาะในประเทศที่กำลังพัฒนา โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นโรคมะเร็งที่พบเป็นอันดับหนึ่งในสตรีไทย มีผู้ป่วยรายใหม่ประมาณปีละ ๖,๓๐๐ ราย พบมากที่สุดระหว่างกลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข ได้มีนโยบายการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก เพื่อค้นหาและสามารถรักษาอย่างถูกวิธี โดยเน้นให้ประชาชนเข้าถึงบริการทั้งข้อมูลข่าวสาร การใช้บริการตรวจคัดกรอง (ทั้งวิธีVIA และ PAP’s smear) จาก เหตุผลเบื้องต้น เพื่อกำหนดการดำเนินงานโดยมุ่งเน้น สร้างความตระหนัก เข้าถึงบริการสะดวก  ด้วยการสื่อสารเตือนภัย พัฒนาระบบการเฝ้าระวัง พร้อมทั้งสร้างความเข้มแข็งของระบบสนับสนุน
ผลการดำเนินงานการป้องกันมะเร็งปากมดลูกใน ปี ๒๕๖๑ กลุ่มสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ในเขตรับผิดชอบ ๘๑๕ คน เป้าหมายร้อยละ ๒๐ ต้องได้รับการตรวจ ๑๖๓ คน แต่ที่ผ่านมาพบประเด็นที่ต้องพัฒนาคือ กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการตรวจเพียง ๑๕ คน คิดเป็นร้อยละ ๑.๘๔  เนื่องจากกลุ่มเป้าหมายมีความกลัวเจ็บ  รับไม่ได้ถ้าหากรู้ตนเองเป็นมะเร็งจริงๆ คิดว่าไม่เป็นโรค ยังไม่ตระหนักถึงความอันตรายของโรค และมีความอายในการมาตรวจกับเจ้าหน้าที่ที่รู้จักกัน ในรายที่ตรวจที่คลินิกเอกชนไม่สามารถเก็บข้อมูลได้ทั้งหมด  นอกจากนี้ความแตกต่างทางวัฒนธรรมวิถีชีวิตของผู้คนในพื้นที่ ยิ่งทำให้การดูแลสุขภาพกลายเป็นเรื่องที่มีมิติทางความรู้สึกที่ซับซ้อนกว่าประชากรในพื้นที่อื่น ดังนั้น การดำเนินงาน ด้านสุขภาวะในพื้นที่ จึงเป็นเรื่องที่ละเอียดอ่อน โดยเฉพาะในสตรีมุสลิม จึงจำเป็นต้องสร้างเครือข่ายผู้ที่เกี่ยวข้องให้เกิดความเข้าใจในอัตลักษณ์ของกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้ง จึงจะเกิดประสิทธิภาพในการทำงานสูงสุด     ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขร่วมกับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปิยามุมัง    จึงจัดทำโครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้นเพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้ตระหนักถึงความสำคัญของการเฝ้าระวังโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมและให้เกิดทัศนคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพตนเองต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ20 และร้อยละ ๘๐ ของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปตรวจมะเร็งเต้านมของตนเอง ๒. เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญ ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ ๑. ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข
  2. กิจกรรมที่ ๒ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 815
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. มีเครือข่ายแกนนำในการค้นหากลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งมีการดูแลผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก มะเร็งเต้านม  และครอบครัวที่เป็นรูปธรรม
      ๒. ลดอัตราการตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม   ๓. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญ ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านมด้วยตนเองได้เหมาะสม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมที่ ๑. ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข

วันที่ 20 สิงหาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

อบรมให้ความรู้เชิงปฏิบัติเรื่องการตรวจเต้านมและตรวจมะเร็งปากมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

แกนนำสตรีและอสม.สามารถตรวจเต้านมด้วยตนเองพร้อมคัดกรองมะเร็งปากมดลูก

 

39 0

2. กิจกรรมที่ ๒ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

วันที่ 20 กันยายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

-อสม.ชักชวนชาวบ้านในเขตรับผิดชอบเพื่อมาแลกเปลี่ยนชวนกันมาตรวจคัดกรองมะเร็งเต้ามนมและมะเร็งปากมดลูก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ได้ทราบแนวทางและปัญหาอุปสรรคในงานบริการตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก

 

130 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ ๓๐-๖๐ ปี ได้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ20 และร้อยละ ๘๐ ของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปตรวจมะเร็งเต้านมของตนเอง ๒. เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ตระหนัก ใส่ใจ และเห็นความสำคัญ ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 815
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 815
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้หญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ  ๓๐-๖๐  ปี ได้ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ20            และร้อยละ ๘๐ ของหญิงวัยเจริญพันธ์ที่มีอายุ 35 ปีขึ้นไปตรวจมะเร็งเต้านมของตนเอง      ๒. เพื่อสร้างเครือข่ายเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านม      ๓. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้  ตระหนัก  ใส่ใจ และเห็นความสำคัญ ของการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และเฝ้าระวังป้องกันมะเร็งเต้านมด้วยตนเอง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ ๑.  ประชุมให้ความรู้เชิงปฏิบัติการแก่อาสาสมัครสาธารณสุข (2) กิจกรรมที่ ๒ จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการตรวจมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกแก่กลุ่มเป้าหมาย

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันภัยร้ายโรคมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ตำบลปิยามุมัง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3045-2-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวแอเสาะ เหนื่องตีบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด