กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม ”
ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์




ชื่อโครงการ รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม

ที่อยู่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5251-1-07 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ ถึง 31 พฤษภาคม 2562

กิตติกรรมประกาศ

"รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม



บทคัดย่อ

โครงการ " รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสำนักขาม อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 62-L5251-1-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน ยังไม่ระบุ - 31 พฤษภาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลสำนักขาม เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะสมองเสื่อมคือกลุ่มอาการที่เกิดจากความผิดปกติต่างๆที่มีผลกระทบต่อสมอง และมีความเปลี่ยนแปลงทั้งความคิด พฤติกรรม ทำให้เกิดปัญหาต่างๆตามมาเช่น ผู้สูงอายุหลงลืมไม่สามารถทำสิ่งที่เคยทำได้ มีปัญหาในการใช้ภาษา เช่น พูดไม่รู้เรื่อง หรือการพูดให้ผู้อื่นเข้าใจได้ยาก การวางของผิดที่ผิดทาง ทำให้อารมณ์เปลี่ยนแปลงง่าย บุคลิกภาพเปลี่ยนแปลงไป เช่น ซึมเศร้าหรืออาจจะมีบุคลิกที่กลับไปเป็นเด็กอีกครั้ง ในรายที่รุนแรงมากๆอาจไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ แม้กระทั่งอาบน้ำหรือทำกิจวัตรประจำวันอย่างอื่น ทำให้ผู้ดูแลจำเป็นต้อง ดูแลตลอดเวลา และผู้ดูแลเองอาจเกิดความเครียดขึ้นได้รวมถึงการขาดรายได้ในการทำงานอย่างอื่นอีกด้วย ปัจจัยเสี่ยงที่ทำให้เกิดสมองเสื่อมขึ้นเช่นความดันโลหิตสูง ไขมันในหลอดเลือดสูงและโรคเบาหวานเพราะเลือดแดงแข็งตัวไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอทำให้สมองฝ่อตัวลดลงและความสามารถถดถอยลงทั้งกระบวนการคิด ความจำและสติปัญญาเป็นต้น       ประเทศไทยได้เข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี ๒๕๔๘ โดยมีประชากรสูงอายุร้อยละ ๑๐.๔ หรือ ๗.๒ ล้านคน ในปี ๒๕๖๑ ปัจจุบันมีประชากรผู้สูงอายุร้อยละ ๑๗.๕ หรือประมาณ ๑๑.๖ ล้านคน และในปี ๒๕๖๒ จะเป็นครั้งแรกที่ประเทศไทยมีประชากรผู้สูงอายุมากกว่าประชากรวัยเด็ก ในอนาคตอันใกล้ ประชากรผู้สูงอายุจะเพิ่มขึ้นอีกมากประเทศไทยจะกลายเป็นสังคมผู้สูงอายุแบบสมบูรณ์ในอีก ๓ ปีข้างหน้า คาดว่าในปี ๒๕๗๔ ประเทศจะกลายเป็นสังคมสูงวัยระดับสุดยอด คือมีประชากรผู้สูงอายุ ร้อยละ ๒๘ (นพ.สมศักด์ อรรฆศิลป์ อธิบดีกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข) และจำนวนผู้สูงอายุในจังหวัดสงขลามีทั้งหมด๑๘๖,๙๗๖คนมีภาวะสมองเสื่อมจำนวน๑,๖๘๕คน คิดเป็นร้อยละ๐.๙(ที่มา:ระบบสารสนเทศด้านข้อมูลสุขภาพจังหวัดสงขลาSIS) จากการศึกษาสำรวจประชากรผู้สูงอายุใน อำเภอสะเดา ตำบลสำนักขามในปี พ.ศ.๒๕๖๑ มีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด ๘๖๐ คน พบจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะเสี่ยงต่อสมองเสื่อม ๑๓๑ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๕.๒๕ (ที่มา:สำนักงานกระทวงสาธารณสุข อำเภอสะเดา ตำบลสำนักขาม,๒๕๖๑)
      จะเห็นได้ว่ากลุ่มผู้สูงอายุมีแนวโน้มจำนวนเพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นปัจจัยส่วนหนึ่งที่ทำให้อัตราการเกิดภาวะสมองเสื่อมเพิ่มมากขึ้น ผู้จัดทำโครงการจึงเห็นถึงความสำคัญในการป้องกันภาวะสมองเสื่อมในวัยสูงอายุโดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลศรีประชาเขตได้ดูแลผู้สูงอายุภายใต้ชมรมผู้สูงอายุจำนวน 50 คน ซึ่งหนึ่งในจำนวนนี้สามารถเป็นตัวแทนในการเผยแพร่ข้อมูลเกี่ยวกับภาวะสมองเสื่อมได้ จึงเป็นเหตุให้ผู้จัดทำ จัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อผู้สูงอายุได้รู้ถึงวิธีการป้องกันตนเองและสามารถเผยแพร่ข้อมูลในการเกิดภาวะสมองเสื่อมได้อย่างถูกต้องและยังสามารถพัฒนาโครงการนี้ต่อไปได้เรื่อยๆเช่นกัน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อม
  2. ๒. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการบริหารสมองเสื่อม
  2. ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้
  3. รณรงค์และประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อม   ๒. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถปฏิบัติท่าบริหารสมองเสื่อมเพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้การป้องกันภาวะสมองเสื่อมทั้งหมดจำนวน ๕๐ คน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถบอกความหมายของภาวะสมองเสื่อมและการป้องกันภาวะสมองเสื่อมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

 

50 0

2. รณรงค์และประชาสัมพันธ์

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

รณรงค์และประชาสัมพันธ์

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และสามารถปฏิบัติท่าบริหารสมองเสื่อมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

 

50 0

3. กิจกรรมการบริหารสมองเสื่อม

วันที่ 15 ตุลาคม 2563

กิจกรรมที่ทำ

กิจกรรมการบริหารสมองเสื่อม

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

จากการสอบถามผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถนำท่าบริหารสมองเสื่อมกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐

 

50 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : 1 ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถบอกความหมายของภาวะสมองเสื่อมและการป้องกันภาวะสมองเสื่อมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.00

 

2 ๒. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม
ตัวชี้วัด : ๑. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ และสามารถปฏิบัติท่าบริหารสมองเสื่อมได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ๒. จากการสอบถามผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถนำท่าบริหารสมองเสื่อมกลับไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
1.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันภาวะสมองเสื่อม (2) ๒. ผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุสามารถเผยแพร่และใช้ท่าบริหารสมองเสื่อมไปใช้เพื่อป้องกันภาวะสมองเสื่อม

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการบริหารสมองเสื่อม (2) ชี้แจงกิจกรรมและให้ความรู้ (3) รณรงค์และประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รู้เร็ว เข้าใจ ห่างไกลสมองเสื่อม จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 62-L5251-1-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวกิ่งกนก พึ่งนุสนธิ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด