กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวดีนา จิดาเพ็ชร

ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L-4117-1-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L-4117-1-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,750.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาทันตสาธารณสุข เป็นปัญหาที่พบได้บ่อยทุกช่วงวัยเมื่อมีปัญหาขึ้นมักมีผลต่อสุขภาพ อารมณ์ ภาวะเศรษฐกิจและความรู้สึกเจ็บป่วยของผู้ป่วย ข้อมูลสถานการณ์สุขภาพช่องปากและฟันปี 2560 ของอำเภอกาบัง พบว่า ในกลุ่มอายุ18 เดือนมีค่าฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ6.90 ในกลุ่มอายุ 3 ปี ฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 22.53 ฟันผุในฟันแท้ใน กลุ่มอายุ6 ปี กลุ่มอายุ12 ปี มีฟันผุในฟันแท้ ร้อยละ 55.14 จากที่กล่าวมาเล็งเห็นว่าเด็กยังมีฟันผุ สาเหตุของการเกิดโรคในช่องปาก มักเกิดจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครอง อาหารการกิน การแปรงฟันที่ไม่ถูกวิธี การขาดความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพช่องปาก ผลการสำรวจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ ในปี2561 พบเด็กกลุ่มอายุ 3 ปีมีฟันผุในฟันน้ำนม ร้อยละ 29.09 เด็กกลุ่มอายุ 12 ปีมีฟันผุในฟันแท้ ถึงร้อยละ 75.0 และในปีที่ผ่านมาได้จัดโครงการส่งเสริมทันตสุขภาพในโรงเรียน ในส่วนของกิจกรรมโรงเรียนมีการแปรงฟันแบบแห้งหลังเคารพธงชาติ ยังไม่มีโรงเรียนใดดำเนินการ ปีนี้จะมีมีการติดตามต่อจากปีที่ผ่านมา สำหรับกลุ่มผู้สูงอายุ พบว่าปัญหาหลักคือไม่มีฟันธรรมชาติเหลือพอในการบดเคี้ยวอาหาร มีการสูญเสียฟันอย่างน้อย 1 ซี่ ร้อยละ 83 สูญเสียฟัน ทั้งปาก ร้อยละ 7.2 แต่ด้วยการดำเนินงานโครงการฟันเทียมพระราชทานจึงทำให้ผู้สูงอายุที่จำเป็นต้องใส่ฟันทั้งปากลดลงเหลือร้อยละ 2.5 แต่หากคิดเป็นจำนวนยังคงสูงถึง 250 คนและยังพบปัญหาฟันผุ รากฟันผุ โรคปริทันต์ มะเร็งช่องปาก ภาวะน้ำลายแห้ง ฟันสึก และสภาวะในช่องปากที่สัมพันธ์กับโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมสุขภาพช่องปากใน ทุกกลุ่มวัยอย่างต่อเนื่อง
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ จึงได้จัดทำโครงการการส่งเสริม ป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย ประจำปี 2562 เพื่อให้ความรู้และส่งเสริมสุขภาพช่องปากให้กับทุกช่วงอายุ เพื่อให้มีทักษะในการดูแลสุขภาพช่องปากที่ถูกต้องแล้วยังมีความรู้เรื่องสุขภาพช่องปากที่ดีต่อไป จึงจัดโครงการดังกล่าวขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อมีเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1 ครั้ง
  2. ผู้ปกครองเด็ก0-3ปี อสม.ที่ดูแล รู้และเข้าใจการฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากและโภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้น ร้อยละ80
  3. โรงเรียนมีการดำเนินงานเครือข่ายฟันดี อย่างน้อย 1 โรงเรียน
  4. นักเรียนสามารถสร้างสื่อทันตสุขภาพด้วยตนเอง อย่างน้อย 1 อย่าง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์
  2. 2.กลุ่มผู้ปกครองเด็ก0-3ปี กลุ่มอสม.ที่ดูแลรับผิดชอบ
  3. 3.คืนเงินกิจกรรม ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูงานอนามัยโรงเรียน, ครูประจำชั้น โรงเรียนบ้านบาละ โรงเรียนบ้านคชศิลา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 46
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๘. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๘.๑ ผู้ปกครองรับทราบปัญหาโรคในช่องปาก และสามารถนำความรู้ความเข้าใจมาปรับใช้ในการดูแลทันตสุขภาพต่อไป
๘.๒ สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเอื้อต่อการดูแลทันตสุขภาพ
๘.๓ นักเรียนมีสื่อทันตสุขภาพที่สร้างขึ้นเองและสามารถนำไปเผยแพร่ในบอร์ดโรงเรียน 8.4 ประชาชนสุขภาพฟันดี


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ(ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป) ๔.๑ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๒ ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน ๔.๓ กำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้ตามโครงการ ๔.๔ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม ๔.๕ ดำเนินงานตามโครงการ ๔.๖ ประเมินผล  สรุปโครงการ ๔.๗ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๘.๑  ผู้ปกครองรับทราบปัญหาโรคในช่องปาก และสามารถนำความรู้ความเข้าใจมาปรับใช้ในการดูแลทันตสุขภาพต่อไป
๘.๒  สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเอื้อต่อการดูแลทันตสุขภาพ
๘.๓  นักเรียนมีสื่อทันตสุขภาพที่สร้างขึ้นเองและสามารถนำไปเผยแพร่ในบอร์ดโรงเรียน 8.4  ประชาชนสุขภาพฟันดี

 

46 0

2. 2.กลุ่มผู้ปกครองเด็ก0-3ปี กลุ่มอสม.ที่ดูแลรับผิดชอบ

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ(ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป) ๔.๑ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๒ ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน ๔.๓ กำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้ตามโครงการ ๔.๔ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม ๔.๕ ดำเนินงานตามโครงการ ๔.๖ ประเมินผล  สรุปโครงการ ๔.๗ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๘.๑  ผู้ปกครองรับทราบปัญหาโรคในช่องปาก และสามารถนำความรู้ความเข้าใจมาปรับใช้ในการดูแลทันตสุขภาพต่อไป
๘.๒  สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเอื้อต่อการดูแลทันตสุขภาพ
๘.๓  นักเรียนมีสื่อทันตสุขภาพที่สร้างขึ้นเองและสามารถนำไปเผยแพร่ในบอร์ดโรงเรียน 8.4  ประชาชนสุขภาพฟันดี

 

54 0

3. 3.คืนเงินกิจกรรม ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูงานอนามัยโรงเรียน, ครูประจำชั้น โรงเรียนบ้านบาละ โรงเรียนบ้านคชศิลา

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ(ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป) ๔.๑ จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติและขอสนับสนุนงบประมาณ ๔.๒ ประชุมชี้แจงผู้มีส่วนเกี่ยวข้องรับทราบนโยบายและวัตถุประสงค์ของโครงการเพื่อให้มีความเข้าใจในแนวเดียวกัน ๔.๓ กำหนดรูปแบบกิจกรรมการให้ความรู้ตามโครงการ ๔.๔ ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อขอความร่วมมือและสนับสนุนกิจกรรมการอบรม ๔.๕ ดำเนินงานตามโครงการ ๔.๖ ประเมินผล  สรุปโครงการ ๔.๗ รายงานผลการดำเนินงานต่อผู้บังคับบัญชาตามลำดับชั้น และหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๘.๑  ผู้ปกครองรับทราบปัญหาโรคในช่องปาก และสามารถนำความรู้ความเข้าใจมาปรับใช้ในการดูแลทันตสุขภาพต่อไป
๘.๒  สภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนเอื้อต่อการดูแลทันตสุขภาพ
๘.๓  นักเรียนมีสื่อทันตสุขภาพที่สร้างขึ้นเองและสามารถนำไปเผยแพร่ในบอร์ดโรงเรียน 8.4  ประชาชนสุขภาพฟันดี

 

20 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อมีเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 ผู้ปกครองเด็ก0-3ปี อสม.ที่ดูแล รู้และเข้าใจการฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากและโภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้น ร้อยละ80
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 โรงเรียนมีการดำเนินงานเครือข่ายฟันดี อย่างน้อย 1 โรงเรียน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 นักเรียนสามารถสร้างสื่อทันตสุขภาพด้วยตนเอง อย่างน้อย 1 อย่าง
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 46
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 46
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อมีเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ 1 ครั้ง (2) ผู้ปกครองเด็ก0-3ปี อสม.ที่ดูแล รู้และเข้าใจการฝึกทักษะการดูแลความสะอาดช่องปากและโภชนาการที่ถูกต้องสำหรับเด็ก เพิ่มขึ้น ร้อยละ80 (3) โรงเรียนมีการดำเนินงานเครือข่ายฟันดี อย่างน้อย 1 โรงเรียน (4) นักเรียนสามารถสร้างสื่อทันตสุขภาพด้วยตนเอง อย่างน้อย 1 อย่าง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.จัดเวทีแลกเปลี่ยนในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ (2) 2.กลุ่มผู้ปกครองเด็ก0-3ปี  กลุ่มอสม.ที่ดูแลรับผิดชอบ (3) 3.คืนเงินกิจกรรม ผู้อำนวยการโรงเรียน ครูงานอนามัยโรงเรียน, ครูประจำชั้น โรงเรียนบ้านบาละ โรงเรียนบ้านคชศิลา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากของชาวบาละบูรณาการทุกกลุ่มวัย จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L-4117-1-09

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวดีนา จิดาเพ็ชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด