กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ


“ โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562 ”

ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

หัวหน้าโครงการ
นางสาวซัลวา มะตาหยง

ชื่อโครงการ โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562

ที่อยู่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L-4117-1-10 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 22 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบาละ อำเภอกาบัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 62-L-4117-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 22 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาละ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

นโยบายของงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค เพื่อให้การดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคมีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์สูงสุด บุคลากรที่เกี่ยวข้องควรทราบนโยบายของกระทรวงสาธารณสุข และยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ซึ่งการได้รับบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคเป็นสิทธิขั้นพื้นฐานของเด็ก ที่เด็กทุกคนในประเทศไทยควรได้รับวัคซีนพื้นฐาน ครบทุกชนิดตามกำหนดของกระทรวงสาธารณสุข รวมถึงการได้รับวัคซีนกระตุ้นตามกำหนดที่เหมาะสมสำหรับวัคซีนแต่ละชนิดด้วย ซึ่งหากเด็กกลุ่มวัยดังกล่าวมีอัตราป่วยและตายด้วยวัยที่ไม่สมควรเนื่องจากโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนแล้ว หมู่บ้านหรือชุมชนและประเทศชาติจะพัฒนาไปได้อย่างไร การเร่งรัดติดตามให้ประชากรกลุ่มเป้าหมายทุกคนได้รับการฉีดให้ครอบคลุมตามแผนที่วางไว้จึงเป็นสิ่งสำคัญที่จะต้องดำเนินการ ซึ่งการบริการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะต้องจัดให้แก่ประชาชนด้วยความสะดวก และปลอดภัย งานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคจะพยายามป้องกันประชาชนจากโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนให้ได้มากโรคที่สุด โดยการเพิ่มชนิดของวัคซีนที่ใช้ ทั้งนี้โดยความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางระบาดวิทยาของโรค และกำลังทรัพยากรด้านสาธารณสุขของประเทศและต้องดำเนินการในทุกพื้นที่ โดยประสานสอดคล้องกับแผนงานหรือโครงการด้านสาธารณสุขอื่นๆ และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน     ที่ผ่านมาสถานการณ์ของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีนในประเทศไทยโดยเฉพาะโรคที่สำคัญ เช่น โรคไวรัสตับอักเสบบี วัณโรค และโรคคอตีบนั้น จากการรณรงค์โรคไวรัสตับอักเสบบี 2560 พบผู้มารับบริการตรวจคัดกรองไวรัสตับอักเสบบีโดยกรมควบคุมโรคร่วมกับโรงพยาบาลให้ผลบวกจากการตรวจคัดกรองฯ เท่ากับ 1,273 ราย ตั้งแต่ พ.ศ.2558 – 2560 พบผู้ป่วยโดยประมาณ 6,000 รายต่อปี ในขณะที่พบผู้ป่วยวัณโรคใหม่เสมหะพบเชื้อ โดยเฉลี่ยประมาณ 30,000 ราย นอกจากนี้ยังพบว่า สถานการณ์โรคคอตีบในปี 2558 – 2560 ยังพบผู้ป่วย 28, 63 และ 29 รายต่อปี ตามลำดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าโรคเหล่านี้เป็นโรคที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพและอาจเป็นสาเหตุการเสียชีวิตได้ แม้ว่าทางกระทรวงสาธารณสุขจะมีการสนับสนุนวัคซีนป้องกันโรคดังกล่าวในเด็กแล้วก็ตาม     เพื่อเสริมสร้างให้เด็กมีสุขภาพที่แข็งแรงมีภูมิคุ้มกันโรคที่ดี กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันควบคุมโรคด้วยวัคซีน จึงริเริ่มแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคตั้งแต่ปีพ.ศ.2520 จากระยะเวลาที่ผ่านมาได้มีการพัฒนาปรับปรุงและขยายแผนงาน จนกระทั่งปัจจุบันมีวัคซีนที่เด็กควรได้รับจำนวน 8 ชนิด สำหรับป้องกันโรคทั้งหมด 10 โรค ได้แก่ วัคซีนป้องกันวัณโรค ตับอักเสบบี คอตีบ ไอกรน บาดทะยัก โปลิโอ หัด หัดเยอรมัน คางทูม และไข้สมองอักเสบเจอี โดยวัคซีนบางชนิดต้องได้รับมากกว่า 1 ครั้ง จึงจะสามารถป้องกันโรคได้ นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขโดยการสนับสนุนของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้จัดให้มีบริการวัคซีนแก่เด็กแรกเกิดอย่างต่อเนื่องไปจนถึงวัยเรียน ซึ่งเด็กทุกคนควรได้รับวัคซีนอย่างน้อยตามที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด ซึ่งทางกระทรวงฯ ได้บริการให้ฟรี โดยเด็กทุกคนสามารถรับวัคซีนเหล่านี้ได้จากสถานพยาบาลของรัฐ หรือโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลทุกแห่ง และควรรับวัคซีนให้ครบทุกช่วงอายุ       จากการดำเนินงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาละ อำเภอ        กาบัง จังหวัดยะลา ในรอบปีที่ผ่านมาปรากฏว่า เด็กอายุครบ 1 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นอัตราร้อยละ  9๐.10 เด็กอายุครบ 2 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นอัตราร้อยละ 89.45 เด็กอายุครบ 3 ปี ได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นอัตราร้อยละ 90.83 และเด็กอายุครบ 5 ปีได้รับวัคซีนครบทุกชนิด คิดเป็นอัตราร้อยละ 94.96 การได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ความครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 93.18 ซึ่งต่ำกว่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ว่าเด็ก 0-5 ปี  ได้รับวัคซีนครอบคลุมคิดเป็นร้อยละ 95       ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายตามแผนฯ จากรายงานอัตราความครอบคลุมวัคซีนขั้นพื้นฐานพบว่า เด็ก 0-5 ปี ในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสุขภาพตำบลบาละ อำเภอ        กาบัง จังหวัดยะลา ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ไม่ครอบคลุม จึงจำเป็นต้องดำเนินการเร่งรัด ติดตาม ค้นหาเด็กกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการการฉีดวัคซีนทุกคน เพื่อการป้องกันโรคที่อาจจะเกิดขึ้นกับประชากรกลุ่มอายุดังกล่าวในอนาคตต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ๐-๕ ปี ร้อยละ ๙๐
  2. เพื่อเพิ่มความความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กต่ำกว่า ๑ ปี ร้อยละ ๙๕(เพิ่มเติมเขต)
  3. เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน
  4. เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เครือข่ายในการดูแล สุขภาพของชุมชน
  5. เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
  6. เพื่อลดอัดตราป่วยที่สามารถป้องกันด้วย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) แก่ผู้ปกครองเด็กที่บ่ายเบี่ยงวัคซีน, ผู้นำศาสนา,ผู้นำชุมชน และแกนนำ อสม. จำนวน 120 คน
  2. 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
  3. 3. กิจกรรมติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

10.ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน 3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

6 0

2. 3. กิจกรรมติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

2 0

3. 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) แก่ผู้ปกครองเด็กที่บ่ายเบี่ยงวัคซีน, ผู้นำศาสนา,ผู้นำชุมชน และแกนนำ อสม. จำนวน 120 คน

วันที่ 4 ตุลาคม 2562

กิจกรรมที่ทำ

วิธีดำเนินการ/กลยุทธ์การดำเนินการ           กลยุทธ์ที่ 1 การสร้างการมีส่วนร่วมขององค์กรในชุมชน กลวิธีตามกลยุทธ์               1.ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำชุมชน  ผู้นำศาสนา และ อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน (อสม.) เรื่องอันตรายของโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อ 2.ให้ผู้นำชุมชน ผู้นำศาสนา มีส่วนร่วมในการประกาศติดตามเด็กที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด 3.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ออกติดตามผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด ทุกสัปดาห์ 4.ผู้ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด จะนำชื่อไปติดป้ายประชาสัมพันธ์ และให้ผู้นำศาสนาประกาศชื่อ ในวันศุกร์ เดือนละ 1 ครั้ง 5.ประชาสัมพันธ์เรื่องโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยการติดป้ายประชาสัมพันธ์ในทุกหมู่บ้าน และจัดทำเอกสารแผ่นพับความรู้เรื่องวัคซีนแจกให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายและผู้สนใจ กลยุทธ์ที่ 2 การพัฒนาองค์ความรู้แก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี กลวิธีตามกลยุทธ์ 1. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขออกหมู่บ้านร่วมกับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ในการติดตามวัคซีน และให้สุขศึกษาแก่ผู้ปกครองของเด็กวัย 0-5 ปี ที่ไม่มารับวัคซีนตามนัด เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักถึงผลกระทบร้ายแรงที่เกิดจากโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน
                2.จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน ผู้นำศาสนา ผู้นำชุมชน แกนนำอสม.จำนวน 120  คน
5.วิธีดำเนินการ (ขั้นเตรียมการ,ขั้นดำเนินการ,ขั้นสรุป)           ขั้นเตรียมการ             1. ประชุมชี้แจงเพื่อทำความเข้าใจกับเจ้าหน้าที่และผู้เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของโครงการ             2. สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมายในการฉีดวัคซีน             3. จัดทำแผนปฏิบัติการฉีดวัคซีนเชิงรุก         ขั้นดำเนินการ             1. ประชุมผู้นำชุมชน และ อสม. เพื่อชี้แจงแนวทางการปฏิบัติงาน             2. อสม.ติดตามและนำส่งเด็กมารับวัคซีนของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่ รพ.สต.             3. ติดตามฉีดวัคซีนเชิงรุก ในรายที่ อสม. ติดตามแล้วแต่ไม่ยอมมารับบริการที่ รพ.สต.             4. จัดกิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กที่ปฏิเสธวัคซีน และผู้ปกครองที่ไม่มีความรู้ความตระหนักเรื่องวัคซีน จำนวน 70  คน
      6.จัดนิทรรศการเดินรณรงค์ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน โดยมีเด็กนักเรียน อาสาสมัครประจำหมู่บ้าน(อสม.) ผู้นำศาสนา/ผู้นำชุมชน และประชาชนทั่วไป จำนวน 200 คน           7. สรุปประเมินผลโครงการ           ระยะหลังดำเนินการ             ติดตามความครอบคลุมวัคซีนในกลุ่มเป้าหมายทุกสามเดือนรายไตรมาส

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนขั้นพื้นฐาน ในเด็ก 0-5 ปี ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ที่ถูกต้องและเกิดความตระหนักในเรื่องวัคซีน
  3. ไม่เกิดโรคที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีน

 

120 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ๐-๕ ปี ร้อยละ ๙๐
ตัวชี้วัด :
0.00

 

2 เพื่อเพิ่มความความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กต่ำกว่า ๑ ปี ร้อยละ ๙๕(เพิ่มเติมเขต)
ตัวชี้วัด :
0.00

 

3 เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

4 เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เครือข่ายในการดูแล สุขภาพของชุมชน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

5 เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน
ตัวชี้วัด :
0.00

 

6 เพื่อลดอัดตราป่วยที่สามารถป้องกันด้วย
ตัวชี้วัด :
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 60
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเพิ่มความครอบคลุมของวัคซีนในเด็กอายุ๐-๕ ปี ร้อยละ ๙๐ (2) เพื่อเพิ่มความความครอบคลุมของการรับวัคซีนในเด็กต่ำกว่า ๑ ปี ร้อยละ ๙๕(เพิ่มเติมเขต) (3) เพื่อสร้างจิตสำนึก/ เจตคติที่ดี แก่บิดา มารดาและผู้ปกครองเด็กต่อการรับวัคซีน (4) เพื่อพัฒนาและเพิ่มศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เครือข่ายในการดูแล                    สุขภาพของชุมชน (5) เพื่อป้องกันการเกิดโรคที่สามารถป้องกันด้วยวัคซีน (6) เพื่อลดอัดตราป่วยที่สามารถป้องกันด้วย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (วัคซีน) แก่ผู้ปกครองเด็กที่บ่ายเบี่ยงวัคซีน, ผู้นำศาสนา,ผู้นำชุมชน และแกนนำ อสม. จำนวน 120  คน (2) 2. กิจกรรมประชาสัมพันธ์เรื่องโรคติดต่อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน (3) 3. กิจกรรมติดตามเด็กกลุ่มเป้าหมายให้มารับบริการวัคซีนตามเกณฑ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการลูกน้อยสุขภาพดีเมื่อได้รับวัคซีนครบชุด ปี2562 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 62-L-4117-1-10

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวซัลวา มะตาหยง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด