กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ


“ โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ”

ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
กลุ่ม ชมรม อสม.

ชื่อโครงการ โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 กุมภาพันธ์ 2562 ถึง 30 พฤศจิกายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 กุมภาพันธ์ 2562 - 30 พฤศจิกายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 134,140.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในทุกๆปีจะมีคนมากกว่า ๑ ล้านคนทั่วโลกเสียชีวิตจากโรคที่ยุงเป็นพาหะ และมีหลายร้อยล้านคนที่เจ็บป่วยด้วยโรคที่ยุงเป็นพาหะ โดยเฉพาะโรคไข้เลือดออกที่เกิดจากยุงลาย ในทุกปีจะมีผู้เสียชีวิตมากกว่า ๒๐,๐๐๐ ราย โดยเฉพาะระหว่างปี ๒๕๕๕-๒๕๕๙ มีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกมากกว่า ๔๘๑,๓๕๓ ราย ในประเทศไทยโรคที่มียุงลายและยุงทั่วไปเป็นพาหะ มีดังนี้ ไข้เลือดออก โรคติดเชื้อไวรัส  ซิกา ไข้มาลาเรียหรือไข้จับสั่น ไข้ติดเชื้อสมองอักเสบ โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา ซึ่งในพื้นที่ตำบทท่าเรือ มีครัวเรือนทั้งหมดจำนวน ๑,๕๓๙ ครัวเรือน จากข้อมูลสถิติการเกิดโรคพื่นที่ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ พบว่า มีผู้ป่วยที่เกิดจากโรคยุงลายที่เป็นไข้เลือดออก จำนวน ๑๐๓ ราย และในปีงบประมาณ ๒๕๖๑ พบว่า มีผู้ป่วยด้วยโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไป ดังนี้ ไข้เลือดออก จำนวน ๕๒ ราย โรคติดเชื้อไวรัสชิคุนกุนยา จำนวน๕๐ ราย และโรคไข้มาลาเรีย จำนวน ๑ ราย ตามลำดับ ที่ผ่านมาทีมป้องกันและควบคุมโรคตำบลท่าเรือ ได้ร่วมกันดำเนินงานป้องกัน และควบคุมโรคไข้เลือดออกในพื้นที่อย่างเข้มแข็งแล้วก็ตาม ดังนั้น จึงมีความจำเป็นต้องรีบเร่งปลุกจิตสำนึกให้กับประชาชนหรือครัวเรือนในพื้นที่ รวมถึงกลุ่มหรือองค์กรต่างๆ ได้แก่ สถานีอนามัย องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน ให้เกิดความร่วมมือในการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงให้มากขึ้น เพื่อที่จะลดอัตราการป่วยและตายจากโรคดังกล่าวได้ ดังนั้น ชมรมอาสาสมัครธารณสุขหมู่ที่ ๑ ตำบลท่าเรือ จึงเล็งเห็นถึงอันตรายของการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและความสำคัญของการมีส่วนร่วมของประชาชนในพื้นที่เพื่อให้การป้องกันและควบคุมโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลาย และยุงทั่วไปมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดทั้งในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนทั้งหมดของพื้นที่ ตำบลท่าเรือ
  2. ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด
  3. ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ
  4. ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. พ่นหมอกควัน
  2. 2. พ่นหมอกควันในกรณีมีผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุง
  3. 3. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรื

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ได้รับการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ๒. การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและตระหนักถึงอันตรายของโรค ๔. ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. 2. พ่นหมอกควันในกรณีมีผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุง

วันที่ 1 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. จัดทำประชาคมสุขภาพในพื้นที่ตำบลท่าเรือ เพื่อหามาตรการการดำเนินงานการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด
๒. ประชุม อสม.และทีม SRRT เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ๓. เขียนโครงการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมากองทุนหลักประกันสุขภาพเขตพื้นที่ตำบลท่าเรือ เพื่อพิจารณาขออนุมัติงบประมาณ ๔. ดำเนินกิจกรรมในโครงการ ดังนี้ ๔.๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลท่าแพ ๔.๒ กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ในชุมชนทุกครัวเรือน มัสยิด สำนักสงฆ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปีละ ๑ ครั้ง ในพื้นที่ตำบลท่าเรือ พร้อมแจกทรายอะเบท ๔.๓ กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและยุงทั่วไปในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร่วมกับครูและนักเรียนพร้อมแจกทรายอะเบทแก่โรงเรียน เพื่อใช้ในโรงเรียน และมอบให้นักเรียนนำกลับไปใช้ที่บ้าน ๔.๔ พ่นหมอกควันในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๒ ครั้ง ต่อปี (ช่วงเดือน เมษายน ๒๕๖๒ และตุลาคม ๒๕๖๒) ๔.๕ พ่นหมอกควันในกรณีที่มีผู้ป่วย โดยพ่นหมอกควันในบ้านผู้ป่วยและรอบบริเวณบ้านผู้ป่วยในรัศมี ๑๐๐ - ๑๕๐ เมตร จำนวน ๒ - ๓ ครั้งในช่วงระหว่างวันที่ ๑ - ๗ โดยทีม SRRT ตำบลท่าเรือ ๔.๖ ในกรณีที่มีผู้ป่วย ให้มีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ในบริเวณบ้านผู้ป่วยและและรอบบริเวณบ้านผู้ป่วยในรัศมี ๑๐๐ - ๑๕๐ เมตร โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๔.๗ ควบคุมและป้องกันโรคโดยการใช้สเปรย์และโลชั่น ในผู้ป่วยที่เกิดโรคแต่มีภาวะเสี่ยงอาจเกิดอันตรายจากการพ่นหมอกควัน ภายในครัวเรือน เช่น ภายในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ้ ผู้ป่วยติดเตียง อาศัยอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน


๔.๘ พ่นหมอกควันครอบคลุมทั้งตำบล ในกรณีที่มีการระบาดอย่างรุนแรง โดยทีม SRRT ตำบลท่าเรือ พร้อมกับรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด พร้อมแจกทรายอะเบท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ได้รับการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ๒. การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและตระหนักถึงอันตรายของโรค ๔. ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด

 

100 0

2. พ่นหมอกควัน

วันที่ 1 ธันวาคม 2561

กิจกรรมที่ทำ

๑. จัดทำประชาคมสุขภาพในพื้นที่ตำบลท่าเรือ เพื่อหามาตรการการดำเนินงานการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด
๒. ประชุม อสม.และทีม SRRT เจ้าหน้าที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าเรือ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านแป-ระใต้ ๓. เขียนโครงการเพื่อเสนอต่อคณะกรรมากองทุนหลักประกันสุขภาพเขตพื้นที่ตำบลท่าเรือ เพื่อพิจารณาขออนุมัติงบประมาณ ๔. ดำเนินกิจกรรมในโครงการ ดังนี้ ๔.๑ กิจกรรมอบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ให้ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด โดยวิทยากรจากโรงพยาบาลท่าแพ ๔.๒ กิจกรรมรณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ในชุมชนทุกครัวเรือน มัสยิด สำนักสงฆ์ โดยอาสาสมัครสาธารณสุข ประชาชน และเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ปีละ ๑ ครั้ง ในพื้นที่ตำบลท่าเรือ พร้อมแจกทรายอะเบท ๔.๓ กิจกรรมทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและยุงทั่วไปในโรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ร่วมกับครูและนักเรียนพร้อมแจกทรายอะเบทแก่โรงเรียน เพื่อใช้ในโรงเรียน และมอบให้นักเรียนนำกลับไปใช้ที่บ้าน ๔.๔ พ่นหมอกควันในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน ๒ ครั้ง ต่อปี (ช่วงเดือน เมษายน ๒๕๖๒ และตุลาคม ๒๕๖๒) ๔.๕ พ่นหมอกควันในกรณีที่มีผู้ป่วย โดยพ่นหมอกควันในบ้านผู้ป่วยและรอบบริเวณบ้านผู้ป่วยในรัศมี ๑๐๐ - ๑๕๐ เมตร จำนวน ๒ - ๓ ครั้งในช่วงระหว่างวันที่ ๑ - ๗ โดยทีม SRRT ตำบลท่าเรือ ๔.๖ ในกรณีที่มีผู้ป่วย ให้มีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ในบริเวณบ้านผู้ป่วยและและรอบบริเวณบ้านผู้ป่วยในรัศมี ๑๐๐ - ๑๕๐ เมตร โดยอาสาสมัครสาธารณสุขและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ๔.๗ ควบคุมและป้องกันโรคโดยการใช้สเปรย์และโลชั่น ในผู้ป่วยที่เกิดโรคแต่มีภาวะเสี่ยงอาจเกิดอันตรายจากการพ่นหมอกควัน ภายในครัวเรือน เช่น ภายในครัวเรือนที่มีผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ ภูมิแพ้ ผู้ป่วยติดเตียง อาศัยอยู่ในครัวเรือนเดียวกัน


๔.๘ พ่นหมอกควันครอบคลุมทั้งตำบล ในกรณีที่มีการระบาดอย่างรุนแรง โดยทีม SRRT ตำบลท่าเรือ พร้อมกับรณรงค์ประชาสัมพันธ์และทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด พร้อมแจกทรายอะเบท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

๑. โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ได้รับการควบคุมและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ๒. การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดได้ ๓. ประชาชนมีความรู้ ในเรื่องการป้องกันโรคที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและตระหนักถึงอันตรายของโรค ๔. ประชาชนมีส่วนร่วมในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด

 

400 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดทั้งในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนทั้งหมดของพื้นที่ ตำบลท่าเรือ
ตัวชี้วัด : ลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดทั้งในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนทั้งหมดของพื้นที่ ตำบลท่าเรือ ร้อยละ 80
0.00 80.00

 

2 ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด
ตัวชี้วัด : การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ร้อยละ 70
0.00 70.00

 

3 ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ
ตัวชี้วัด : ประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ ร้อยละ 70
0.00 70.00

 

4 ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด
ตัวชี้วัด : ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ร้อยละ 70
0.00 70.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 650 230
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200 100
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100 50
กลุ่มวัยทำงาน 100 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 50 5
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 50 5
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ 50 20
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50 10
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อลดจำนวนแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดทั้งในโรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ศาสนสถาน และครัวเรือนทั้งหมดของพื้นที่ ตำบลท่าเรือ (2) ๒. เพื่อให้การควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปมีประสิทธิภาพ และลดการแพร่ระบาดของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด (3) ๓. เพื่อประชาสัมพันธ์และแนะนำวิธีป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดแก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรือ (4) ๔. เพื่อให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิดและมีส่วนร่วมในการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) พ่นหมอกควัน (2) 2. พ่นหมอกควันในกรณีมีผู้ป่วยเป็นโรคติดต่อที่เกิดจากยุง (3) 3. อบรมให้ความรู้แก่ประชาชนในพื้นที่ตำบลท่าเรื

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการควบคุมและป้องกันโรคติดต่อที่เกิดจากยุงลายและยุงทั่วไปทุกชนิด ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๒ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กลุ่ม ชมรม อสม. )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด