โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธมลวรรณ จันทร์วงศ์ ประธาน อสม. ชุมชนวชิราซิยคี่
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2560
ชื่อโครงการ โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L7250-2-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60L7250-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โดยภาพรวมของประเทศไทย กำลังก้าวเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุสูงกว่าประชากรโดยรวม ในปี 2548 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศและคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.4 ในปี 2558 (สัมฤทธิ์ศรีธำรงสวัสดิ์และคณะ ,2550) เนื่องจากภาวการณ์ถดถอยของสมรรถนะร่างกาย จึงมีโอกาสอย่างยิ่งที่จะก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพต่อตัวผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นแล้ว สถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มที่เป็นปัญหา ข้อมูลจากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกายพบว่า โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ หอบหืด เบาหวานความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุกกั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไตวาย อัมพฤกษ์หรืออัมพาต วัณโรค และข้อเสื่อม ฯลฯ นอกจากโรคเรื้อรังแล้ว สิ่งที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คือ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง กลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนต้นและตอนกลาง จะมีความสามารถในการทำหน้าที่อยู่ในระดับปกติร้อยละ 90 และพบว่าลดลงเป็นร้อยละ 80 ในกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย 80 ปีขึ้นไป สอดคล้องกับการสำรวจของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์พบว่าความสามารถในกิจวัตรประจำวันมากกว่าร้อยละ 90 ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ดีเพียงร้อยละ 0.7 และ 2.8 ที่ผู้สูงอายุทำเองไม่ได้เลย(สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์, 2549)
นอกจากนี้เมื่อพิจารณาพบว่าผู้สูงอายุมีอารมณ์ซึมเศร้ามากที่สุด(ร้อยละ 87) โดยผู้สูงอายุในชุมชุมเมืองมีภาวะสมองเสื่อมที่มีแนวโน้มจะพบมากขึ้น จากการสำรวจโดยใช้แบบคัดกรองสมองเสื่อม TMSE สำหรับคนไทยพบว่ามีภาวะผิดปกติในกลุ่มอายุ 60-69 ปี ร้อยละ 20 และเพิ่มขึ้นตามอายุเป็นร้อยละ 60 ในเพศชายและร้อยละ 77 ในเพศหญิง จากแนวโน้มสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นรวมถึงสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนเขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชลาทัศน์เป็นสังคมเมืองมีความแออัดมีผู้สูงอายุอยู่เฝ้าบ้านคนเดียว ทางชุมชนจึงได้เตรียมระบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุขึ้น โดยจัดทำโครงการพัฒนาผู้สูงอายุ ชื่อโครงการ “สูงวัยใช่ไร้ค่า” ขึ้นในปีงบประมาณ 2560 เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานและระบบบริการการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านและชุมชนของศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ในเขตเทศบาลนครสงขลาขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา
- 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ
- 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและมีส่วนร่วมโดยชุมชน
- เกิดรูปแบบการดำเนินงานกิจกรรมนันทนาการผู้สูงอายุในชุมชน
- ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพ
- มีภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุทั้งในส่วนของชุมชนและเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสุขภาพชุมขนชลาทัศน์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลเอาใจใส่ในบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยในชุมชน
2
2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา
ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองดี
3
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ
ตัวชี้วัด :
4
5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน
ตัวชี้วัด :
5
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
50
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ (4) 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L7250-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางธมลวรรณ จันทร์วงศ์ ประธาน อสม. ชุมชนวชิราซิยคี่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ ”
อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางธมลวรรณ จันทร์วงศ์ ประธาน อสม. ชุมชนวชิราซิยคี่
กันยายน 2560
ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L7250-2-19 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60L7250-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โดยภาพรวมของประเทศไทย กำลังก้าวเข้าสู่ภาวะสังคมผู้สูงอายุจากอัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนผู้สูงอายุสูงกว่าประชากรโดยรวม ในปี 2548 คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 10.4 ของประชากรทั้งประเทศและคาดว่าจะเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 13.4 ในปี 2558 (สัมฤทธิ์ศรีธำรงสวัสดิ์และคณะ ,2550) เนื่องจากภาวการณ์ถดถอยของสมรรถนะร่างกาย จึงมีโอกาสอย่างยิ่งที่จะก่อให้เกิดปัญหาด้านสุขภาพต่อตัวผู้สูงอายุที่เพิ่มขึ้นแล้ว สถานการณ์สุขภาพผู้สูงอายุก็มีแนวโน้มที่เป็นปัญหา ข้อมูลจากการสำรวจสุขภาพประชากรไทยโดยการตรวจร่างกายพบว่า โรคที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ ได้แก่ หอบหืด เบาหวานความดันโลหิตสูง มะเร็ง โลหิตจาง ปอดอุกกั้นเรื้อรัง ไขมันในเลือดสูง ไตวาย อัมพฤกษ์หรืออัมพาต วัณโรค และข้อเสื่อม ฯลฯ นอกจากโรคเรื้อรังแล้ว สิ่งที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ คือ ความสามารถในการปฏิบัติหน้าที่ในชีวิตประจำวัน ทั้งนี้ส่วนใหญ่ผู้สูงอายุทั้งชายและหญิง กลุ่มผู้สูงอายุวัยตอนต้นและตอนกลาง จะมีความสามารถในการทำหน้าที่อยู่ในระดับปกติร้อยละ 90 และพบว่าลดลงเป็นร้อยละ 80 ในกลุ่มผู้สูงอายุตอนปลาย 80 ปีขึ้นไป สอดคล้องกับการสำรวจของสถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์พบว่าความสามารถในกิจวัตรประจำวันมากกว่าร้อยละ 90 ผู้สูงอายุสามารถช่วยเหลือตัวเองได้ดีเพียงร้อยละ 0.7 และ 2.8 ที่ผู้สูงอายุทำเองไม่ได้เลย(สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุกรมการแพทย์, 2549) นอกจากนี้เมื่อพิจารณาพบว่าผู้สูงอายุมีอารมณ์ซึมเศร้ามากที่สุด(ร้อยละ 87) โดยผู้สูงอายุในชุมชุมเมืองมีภาวะสมองเสื่อมที่มีแนวโน้มจะพบมากขึ้น จากการสำรวจโดยใช้แบบคัดกรองสมองเสื่อม TMSE สำหรับคนไทยพบว่ามีภาวะผิดปกติในกลุ่มอายุ 60-69 ปี ร้อยละ 20 และเพิ่มขึ้นตามอายุเป็นร้อยละ 60 ในเพศชายและร้อยละ 77 ในเพศหญิง จากแนวโน้มสัดส่วนผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นรวมถึงสถานการณ์ผู้สูงอายุในชุมชนเขตรับผิดชอบศูนย์สุขภาพชุมชลาทัศน์เป็นสังคมเมืองมีความแออัดมีผู้สูงอายุอยู่เฝ้าบ้านคนเดียว ทางชุมชนจึงได้เตรียมระบบการดูแลสุขภาพของผู้สูงอายุขึ้น โดยจัดทำโครงการพัฒนาผู้สูงอายุ ชื่อโครงการ “สูงวัยใช่ไร้ค่า” ขึ้นในปีงบประมาณ 2560 เพื่อพัฒนารูปแบบการดำเนินงานและระบบบริการการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุที่บ้านและชุมชนของศูนย์สุขภาพชุมชนชลาทัศน์ในเขตเทศบาลนครสงขลาขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน
- 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา
- 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ
- 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมและมีส่วนร่วมโดยชุมชน
- เกิดรูปแบบการดำเนินงานกิจกรรมนันทนาการผู้สูงอายุในชุมชน
- ผู้สูงอายุสามารถดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างมีคุณภาพ
- มีภาคีเครือข่ายในการดูแลผู้สูงอายุทั้งในส่วนของชุมชนและเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการสุขภาพชุมขนชลาทัศน์และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องอย่างเป็นรูปธรรม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน ตัวชี้วัด : 1. ร้อยละ 95 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายได้รับการดูแลเอาใจใส่ในบริการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยในชุมชน |
|
|||
2 | 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองดี |
|
|||
3 | 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ ตัวชี้วัด : |
|
|||
4 | 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน ตัวชี้วัด : |
|
|||
5 | ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | 50 | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อส่งเสริมการจัดกิจกรรมการบริการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงวัยในชุมชน (2) 2. เพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้รับการพัฒนาด้านสุขภาพกาย จิตใจ และสังคม และภูมิปัญญา (3) 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้ญาติดูแลผู้สูงวัยที่บ้าน ให้มีความรู้ทักษะมั่นใจในการดูแล และมีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ (4) 5. เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้เกิดขึ้นในครอบครัว ชุมชน (5)
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ สูงวัยใส่ใจสุขภาพ จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 60L7250-2-19
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางธมลวรรณ จันทร์วงศ์ ประธาน อสม. ชุมชนวชิราซิยคี่ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......