กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา


“ โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา ”

อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

หัวหน้าโครงการ
นางสมจิตฟุ้งทศธรรมประธาน อสม. เทศบาลนครสงขลา

ชื่อโครงการ โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา

ที่อยู่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 60-L7250-2-23 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2560 ถึง 30 กันยายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา " ดำเนินการในพื้นที่ อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 60-L7250-2-23 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2560 - 30 กันยายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 31,350.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่คณะรัฐมนตรีได้อนุมัติให้วันที่ 20 มีนาคม ของทุกปีเป็นวันอาสาสมัครสาธารณสุขแห่งชาติ จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุขในการเร่งพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุขให้เป็น “นักจัดการสุขภาพชุมชน” ทำหน้าที่เป็นผู้นำ ผู้กำกับการด้านการจัดการสุขภาพของชุมชน ได้แก่ ทำแผนชุมชน การบริหารงบประมาณด้านสุขภาพ การจัดกิจกรรมในชุมชน และการประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชน โดยใช้ทรัพยากรหลัก คือ คน ทุน และองค์ความรู้ที่มีอยู่ในชุมชน ตลอดระยะเวลากว่า 3 ทศวรรษ อสม.ได้ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเข้มแข็งมีผลงานโดดเด่นเป็นที่ประจักษ์และได้รับการยอมรับจากประชาชนว่าเป็นองค์กรอาสาสมัครที่ประสบความสำเร็จในการดูแลสุขภาพอนามัยเชิงรุก การเสริมสร้างสุขภาพและแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนร่วมกับภาคีเครือข่ายต่างๆในชุมชน ชมรม อสม. เทศบาลนครสงขลาเป็นการรวมตัวกันของอาสาสมัครสาธารณสุขทั้ง 54 ชุมชนและมีคณะกรรมการบริหารชมรม 22 คน ที่ปรึกษาและรวมพี่เลี้ยงเป็น 30 คน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการทำงานเป็นทีมที่ได้รวมกลุ่มกันมาเป็นเวลากว่า 20 ปีและเพื่อให้องค์กรได้ทำงานกับสมาชิกในแต่ละชุมชนไปในแนวทางเดียวกันจึงได้จัดให้มีการประชุมประจำเดือนทุก 2 เดือนครั้ง เพื่อวางแผนการทำงานด้านสุขภาพเชิงรุกในชุมชนทำกิจกรรมต่างในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพประจำชุมชนขึ้นเพื่อช่วยกันพัฒนาและดูแลสุขภาพชุมชนตนเองและประชุมวางแผนการทำงานร่วมกันให้ แกนนำสุขภาพประจำชุมชนทำงานด้านสุขภาพกับประชาชนให้มีศักยภาพมีความก้าวหน้าต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการแกนนำสุขภาพประจำชุมชน 54 ชุมชน ให้มีแนวทางการทำงานทีมีศักยภาพในชุมชน
  2. 2. เพื่อการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนทุกชุมชนเชิงรุกประจำชุมชน
  3. 3. เพื่อจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในชุมชนและการประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 52
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. มีแกนนำด้านสุขภาพประจำชุมชน
      1. คณะกรรมการบริหารชมรมได้จัดให้มีการประชุมวางแผนการทำงานในพื้นที่
      2. มีแผนสุขภาพชุมชนเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชนและนำสู่การปฏิบัติ

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    สรุปกิจกรรมที่ได้ดำเนินการ กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะกรรมการบริหารชมรม อสม. กิจกรรมที่ 2 อบรมแกนนำสุขภาพ กิจกรรมที่ 3 ประชุมจัดทำแผนนำสู่การปฏิบัติ กิจกรรมที่ 4 สรุปและประเมินผล สรุปการใช้งบประมาณ จัดสรร 31350 บาท ใช้จริง 31350 บาท กิจกรรมอบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชน จำนวน 3 ครั้ง ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 4500 บาท อาหารกลางวัน 4500 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร 10800 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ 2000 บาท กิจกรรมประชุมจัดแำแผนสู่การปฏิบัติ ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2000 บาท อาหารกลางวัน 2000 บาท ค่าตอบแทนวิทยากร 3000 บาท ค่าวัสดุอุปกรณ์ 1000 บาท ค่าจัดทำสรุปรูปเล่ม 300 บาท

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการแกนนำสุขภาพประจำชุมชน 54 ชุมชน ให้มีแนวทางการทำงานทีมีศักยภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 1. มีแผนสุขภาพประจำชุมชน

     

    2 2. เพื่อการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนทุกชุมชนเชิงรุกประจำชุมชน
    ตัวชี้วัด : 2. มีแกนนำทำงานในชุมชนอย่างต่อเนื่อง

     

    3 3. เพื่อจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในชุมชนและการประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชน
    ตัวชี้วัด : 3. มีแกนนำสุขภาพประจำชุมชนอย่างน้อย 30 ชุมชน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 52
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 52
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อจัดประชุมคณะกรรมการแกนนำสุขภาพประจำชุมชน 54 ชุมชน ให้มีแนวทางการทำงานทีมีศักยภาพในชุมชน (2) 2. เพื่อการจัดทำแผนสุขภาพชุมชนทุกชุมชนเชิงรุกประจำชุมชน (3) 3. เพื่อจัดกิจกรรมด้านสุขภาพในชุมชนและการประเมินผลการดำเนินงานด้านสุขภาพในชุมชน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการ อบรมแกนนำสุขภาพประจำชุมชนในเขตเทศบาลนครสงขลา จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 60-L7250-2-23

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสมจิตฟุ้งทศธรรมประธาน อสม. เทศบาลนครสงขลา )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด