กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง


“ ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา ”

ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุสริน มะมิง

ชื่อโครงการ ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา

ที่อยู่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 62-L3016-1-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 พฤษภาคม 2562 ถึง 25 สิงหาคม 2562


กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะกาฮะรัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 62-L3016-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 พฤษภาคม 2562 - 25 สิงหาคม 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,700.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะกาฮะรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ฟันผุของเด็กไทยทั้งประเทศ จากข้อมูลรายงาน HDC ปี 2560 พบว่าเด็กกลุ่มอายุ 12 ปีของเด็กไทยมีฟันดีไม่มีผุร้อยละ 71.9 โดยเขตสุขภาพที่ 12 มีร้อยละฟันดีไม่มผุน้อยที่สุุด คือ ร้อยละ 45.4 ซึ่งหมายความว่าเขตสุขภาพที่ 12 มีปัญหาโรคฟันผุสูงสุดในเด็ก 12 ปี สถานการณ์ฟันผุของเขตสุขภาพที่ 12 ในเด็กอายุ 12 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ.2557 - 2559 พบว่าเด็กอายุ 12 ปีในจังหวัดปัตตานี มีสถานการณ์ฟันผุร้อยละ 59.9 ใน พ.ศ.2557 พบฟันผุร้อยละ 65.2 ในปี พ.ศ.2558 และพบฟันผุร้อยละ 67.9 ในปี พ.ศ.2559 และล่าสุดในปี 2560 พบฟันผุในเด็ก 12 ปีมากถึงร้อยละ 76.76 อ้างอิงข้อมูลจาก HDC วันที่ 10 มีนาคม 2560 และเห็นได้ว่าสถานการร์ฟันผุในเด็ก 12 ปี จังหวัดปัตตานีมีสถานการณ์ฟันผุที่เลวร้ายลงตามลำดับทุกปี   สถานการณ์ฟันผุในเด็ก ป.1-ป.6 ในโรงเรียนของตำบลปะกาฮะรัง จากการตรวจสุขภาพช่องปากปี 2560 จำนวน 424 คน พบฟันแท้ผุร้อยละ 58.96 พบเหลือกอักเสบร้อยละ 10.37 และพบว่านักเรียนโรงเรียนบ้านกือยามีร้อยละฟันผุและเหงือกอักเสบสูงสุดใน 3 โรงเรียน   วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหาฟันผุของเด็กในพื้นที่ตำบลปะกาฮะรัง พบว่าเด็กมีพฤติกรรมการรับประทานขนมหวาน น้ำอัดลม ลูกอม ขนมกรุบกรอบและเครื่องดื่มที่มีน้ำตาล ประกอบกับมีร้านค้าในชุมชนและในโรงเรียน ผู้ปกครองสนใจเรื่องปากท้องในครอบครัวมากกว่าปัญหาสุขภาพ การไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการมีสุขภาพช่องปากที่ดี การไม่มีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการดูแลทันตสุขภาพในโรงเรียน การไม่ได้รับการส่งเสริมการดูแลสุขภาพช่องปากอย่างจริงจังในโรงเรียน ไม่มีการแปรงฟันหลังอาหารที่เป็นกิจวัตร การไม่มีที่เก็บแปรงสีฟันอย่างเป็นรูปธรรมชัดเจน อีกทั้งการแปรงฟันของเด็กในโรงเรียนไม่มีประสิทธิภาพ ซึ่งปัญหาเหล่านี้จะส่งผลโดยตรงต่อปัญหาด้านทันตสุขภาพและอาจจะส่งผลต่อคุณภาพชีวิต คุณภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งพบว่าการมีสุขภาพช่องปากที่ดีจะส่งผลต่อพัฒนาการการเรียนรู้ที่ดีอย่างมีนัยสำคัญ   ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปะกาฮะรัง ได้เล็งเห็นความสำคัญของการมีสุขภาวะช่องปากที่ดีในเด็กที่อยู่ในวัยเรียนรู้และเพื่อลดสถานการณ์ฟันผุที่จะเกิดในเด็กอายุ 12 ปี จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทันตสาธารณสุขในเด็กชั้น ป.1- ป.6ขึ้น ซึ่งมีความคาดหวังเป็นอย่างยิ่งว่านักเรียนโรงเรียนบ้านกือยารุ่นใหม่จะมสุขภาพช่่องปากที่ดี ไร้ฟันผุ มีสถานที่เก็บแปรงสีฟันในห้องเรียนอย่างเป็นรูปธรรมและเด็ก 12 ปี มีสถานการณ์ฟันผุที่ดีขึ่น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างเป็นกิจวัตร
  2. เพื่อให้นักเรียนมีสถานที่เก็บแปรงฟันอย่างเหมาะสม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 117
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันทุกวันอย่างเป็นกิจวัตร 2.นักเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้่อต่อการดูแลทันตสุขภาพในโรงเรียน 3.นักเรียนมีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างเป็นกิจวัตร
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของนักเรียนมีการแปรงฟันหลังอาหารกลางวัน
    0.00

     

    2 เพื่อให้นักเรียนมีสถานที่เก็บแปรงฟันอย่างเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของชั้นเรียนมีที่เก็บแปรงสีฟันของนักเรียนอย่า่งเป็นรูปธรรม
    0.00

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 117
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 117
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่่อให้นักเรียนแปรงฟันหลังอาหารกลางวันอย่างเป็นกิจวัตร (2) เพื่อให้นักเรียนมีสถานที่เก็บแปรงฟันอย่างเหมาะสม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    ส่งเสริมทันตสาธารณสุขในโรงเรียนบ้านกือยา จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 62-L3016-1-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวบุสริน มะมิง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด