กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต


“ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก ”

รพ.สต.ปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางดารุณี มากแก้ว

ชื่อโครงการ โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก

ที่อยู่ รพ.สต.ปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-3321-1-12 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2562 ถึง 30 มิถุนายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน รพ.สต.ปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปันแต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก



บทคัดย่อ

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก  ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบันโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมเป็นสาเหตุการตายจากโรคมะเร็งของสตรีในประเทศไทย ซึ่งทำให้เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูก มีการค้นหา โดยการตรวจหาเซลล์มะเร็งให้พบตั้งแต่อยู่ในระยะเริ่มแรกและในระยะก่อนเป็นมะเร็งซึ่งสามารถรักษาให้หายได้ และเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการรักษาในระยะลุกลามและจากการศึกษาพบว่าการคัดกรองด้วยการทำ Pap smearในสตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ ๓๐-๖๐ ปี ทำให้ช่วยลดอัตราการเกิดและอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้ จากผลการดำเนินงานตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตามเป้าหมาย ปีงบประมาณ 2558 สะสมถึงปีงบประมาณ 2561 ซึ่งทางรพ.สต.ปันแต ได้รับ มีกลุ่มเป้าหมายสตรีวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓๐ – ๖๐ ปีทั้งหมดจำนวน 947 คน ได้รับการตรวจ Pap smear  จำนวน 658 คน คิดเป็นร้อยละ 69.48 ซึ่งมีกลุ่มเป้าหมายอีกจำนวน 289 คน ที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกตั้งแต่ปี 2558 ทั้งนี้เนื่องจากหญิงวัยเจริญพันธุ์ยังมีทัศนคติที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการตรวจและขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 396
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก
๒. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 50 ๓. หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก

วันที่ 10 เมษายน 2562

กิจกรรมที่ทำ

๑. ประชุมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อชี้แจงโครงการและค้นหากลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ ๓o –  ๖o ปีที่ยังไม่ได้ตรวจในแต่ละเขตรับผิดชอบเพื่อให้มารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก 2. ประชาสัมพันธ์ทางหอกระจายข่าวของหมู่บ้านโดยผู้นำชุมชน/อสม. 3. ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร/ตรวจมะเร็งปากมดลูก ๔. จัดทำทะเบียนหญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o -๖o ปีที่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกและแจ้งผลการตรวจ ในกรณีที่ผลการตรวจผิดปกติส่งต่อพบแพทย์เพื่อการรักษาต่อไป

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ในวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน และวันประชุมประจำเดือน อสม. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น          ร้อยละ 90.12 2.กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 359 คน ซึ่งเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 17.54 ผลปกติ      จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 100

 

63 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  • ผลการดำเนินงาน
  1. ได้มีการรณรงค์ออกประชาสัมพันธ์ให้กลุ่มเป้าหมายได้เข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ในวันประชุมประจำเดือนหมู่บ้าน และวันประชุมประจำเดือน อสม.
  2. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เพิ่มขึ้น ร้อยละ 90.12
  3. กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 359 คน ซึ่งเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกจำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 17.54 ผลปกติ จำนวน 63 คน คิดเป็นร้อยละ 100

- ระยะเวลาดำเนินการและสถานที่ดำเนินการ วันที่ 10 เมษายน 2562 ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปันแต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง - งบประมาณ 11,070 บาท รายละเอียดดังนี้ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้าร่วมอบรม จำนวน 63 คน x 1 มื้อ x 25 บาท เป็นเงิน  1,575  บาท 2. ค่าอาหารว่างสำหรับวิทยากร/อสม. จำนวน  26 คน x 2 มื้อ x 25 บาท
เป็นเงิน 1,300 บาท 3. ค่าอาหารกลางวันสำหรับวิทยากร/อสม จำนวน 26 คน x50 บาท เป็นเงิน 1,300 บาท 4. ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมง x 2 คน  300 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 5. Roll Up ความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูก ขนาด 60 ซม. x 160 ซม. จำนวน 3 ป้าย x 1,000 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 6. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือเชิญผู้เข้าอบรม จำนวน 290 แผ่นx 0.50 บาท เป็นเงิน 145 บาท 7. ค่าถ่ายเอกสารหนังสือแจ้งผลการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท  เป็นเงิน 75 บาท 8. ค่าถ่ายเอกสารแบบฟอร์มบันทึกการตรวจมะเร็งปากมดลูก จำนวน 150 แผ่น x 0.50 บาท เป็นเงิน 75  บาท - ปัญหา/อุปสรรคในการดำเนินงาน : ประชาชนบางส่วนที่ไม่เข้ารับบริการตรวจมะเร็งปากมดลูกยังมีความอายไม่กล้ามาตรวจและไม่ให้ความสำคัญในการเข้าร่วมกิจกรรม - แนวทางแก้ไข : ติดต่อเจ้าหน้าที่สาธารณสุขจากโรงพยาบาลควนขนุนมาให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก และควรให้สตรีกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการตรวจคัดกรองสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับบุคคลอื่นได้ และควรจัดทำคู่มือเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านม เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก/เต้านม อย่างทั่วถึง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น
ตัวชี้วัด : ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยร้อยละ 50 ข้อ 2 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูกร้อยละ80 ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น ร้อยละ 100
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 396
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 396
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ข้อ 1 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี ที่ยังไม่ได้ตรวจได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก  ข้อ 2หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและการตรวจมะเร็งปากมดลูก ข้อ 3 หญิงวัยเจริญพันธุ์อายุ ๓o – ๖o ปี สามารถป้องกันและรักษาโรคตั้งแต่แรกเริ่มเป็น

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายที่ยังไม่ได้ตรวจและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยวิทยากร /ตรวจมะเร็งปากมดลูก

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรณรงค์ตรวจมะเร็งปากมดลูก จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 62-3321-1-12

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางดารุณี มากแก้ว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด