กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านโคกชะงาย

ชื่อโครงการ โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3351-02-09 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 มีนาคม 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 มีนาคม 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ตามที่สสส. มีวัตถุประสงค์และอำนาจหน้าที่ในการสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพตามพระราชบัญญัติกองทุนสนับสนุนการสร้างสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๔๔ และได้ส่งเสริมในพื้นที่ที่สนใจได้จัดทำโครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ (อผส.น้อย)ขึ้น เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของพี่น้องประชาชน ผู้สูงอายุ ผู้ป่วย ผู้พิการและผู้ถูกทอดทิ้งให้ได้รับการดูแลด้านสุขภาพอย่างทั่วถึงนั้นและการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เช่น องค์การบริหารส่วนตำบล แกนนำในชุมชน โรงเรียน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เข้ามาร่วมดำเนินการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตชองกลุ่มเป้าหมายให้ได้รับการดูแลอย่างต่อเนื่องอีกทั้งยังส่งเสริมการสืบสานวัฒนธรรมอันดั้งเดิมแก่ เด็ก และเยาวชนสืบต่อ การสร้างความรัก ความเคารพ ความผูกพันระหว่างเด็ก เยาวชนและผู้สูงอายุในครอบครอบ
ชมรมฯจึงได้เล็งเห็นความสำคัญ ในเรื่องความเป็นอยู่ของประชาชน กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคเรื้อรังต่างๆ ผู้พิการ ตลอดจนผู้ที่ถูกทอดทิ้ง ให้ได้รับการดูแลจากบุตรหลาน หรือเยาวชนที่มีจิตอาสาหันมาใส่ใจ ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตให้แก้กลุ่มเป้าหมาย มากเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ ผู้สูงอายุทั้งที่เป็น อผส.และที่ได้รับการดูแลมีความสุข มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจึงได้ศึกษารายละเอียดของกิจกรรมและเห็นว่า เป็นประโยชน์อย่างมากแก่ประชาชน จึงลงความเห็นกันว่า จัดทำโครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนที่สมัครใจเป็นอาสาสมัครมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ผู้สูงอายุที่อยู่บ้านคนเดียวและที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
  2. เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล ซึ่งจะเป็นการ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชนให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.อผส.และ อผส. น้อยมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะในการปฎิบัติสามารถดูแลผู้สูงอายุ ผู้ป่วยเรื้อรัง ผู้พิการได้อย่างเหมาะสมส่งผลให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพอยู่ร่วมสังคมได้ 2.อผส. อผส.น้อยมีจิตอาสาสามารถบริการเวลาช่วยเหลือและทำประโยชน์ให้แก่สังคมได้และเกิดความรักความผูกพันมีจิตใจอ่อนโยนมีเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์มากยิ่งขึ้น 3.ภาคีเรือข่าย อื่น ๆ เข้ามามีบทบาทขับเคลื่อนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของชุมชนส่งผลให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้และชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    1. เด็กและเยาวชนที่สมัครใจเป็นอาสาสมัครมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ผู้สูงอายุ           2. เด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล           ๓. ผู้สูงอายุ ๓๐ จำนวน คนได้รับการเยี่ยมบ้านดูแลโดย อผส.น้อย

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนที่สมัครใจเป็นอาสาสมัครมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ผู้สูงอายุที่อยู่บ้านคนเดียวและที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้
    ตัวชี้วัด : อผส. และ อผส.น้อย ทุกคนมีความรู้ความเข้าใจมีทักษะในการปฏิบัติสามารถดูแลผู้สูงอายุผู้ป่วยโรคเรื้อรังผู้พิการได้อย่างเหมาะสมส่งผลให้สามารถดำรงชีวิตอย่างมีคุณภาพอยู่ร่วมกับสังคมได้ และเกิดความรักความผูกพันมีจิตใจอ่อนโยน มีเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์มากยิ่งขึ้น

     

    2 เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล ซึ่งจะเป็นการ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชนให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข
    ตัวชี้วัด : 1.อผส. และอผส.น้อยมีจิตอาสา สามารถบริการเวลาช่วยเหลือและทำประโยชน์ให้แก่สังคมไและเกิดความรักความผูกพันมีจิตใจอ่อนโยน มีเมตตาต่อเพื่อนมนุษย์มากยิ่งขึ้น 2.ภาคีเครือข่ายอื่น ๆ เข้ามามีบทบาทขับเคลื่อนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมของชุมชนส่งผลใหุ้มชนสามารถพึ่งตนเองได้และชุมชนมีความเข้มแข็งมากขึ้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนที่สมัครใจเป็นอาสาสมัครมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแล ผู้สูงอายุที่อยู่บ้านคนเดียวและที่ช่วยเหลือตนเองไม่ได้ (2) เพื่อปลูกฝังให้เด็กและเยาวชนมีจิตอาสาในการดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุที่ขาดผู้ดูแล ซึ่งจะเป็นการ เสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผู้สูงอายุกับเด็กและเยาวชนให้สามารถใช้ชีวิตร่วมกันได้อย่างมีความสุข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอาสาสมัครเยาว์วัยใส่ใจผู้สูงอายุ จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3351-02-09

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( ชมรมผู้สูงอายุตำบลบ้านโคกชะงาย )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด