กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอุไรพงค์จันทรเสถียร

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2650-L3351-02-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 10 มีนาคม 2560 ถึง 28 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2650-L3351-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 10 มีนาคม 2560 - 28 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 30,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไข้เลือดออก ยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญระดับประเทศ ที่กระทรวงสาธารณสุขได้กำหนด ให้เป็นโรคที่เป็นปัญหาเร่งด่วนที่สำคัญของประเทศ จากรายงานการเฝ้าระวังโรคปี ๒๕๕9 จังหวัดพัทลุงมีอัตราป่วยด้วยไข้เลือดออกสูงเป็นอันดับต้นๆของประเทศและของภาคใต้ อำเภอเมืองพัทลุงมีผู้ป่วยไข้เลือดออก เป็นอันดับต้นๆจังหวัดพัทลุง พื้นที่ตำบลโคกชะงาย ก็มีผู้ป่วยไข้เลือดออก มีอัตราป่วยสูงกว่าเกณฑ์ระดับประเทศ
สำหรับในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย พื้นที่หมู่ที่ ๒,๓,๔,๕,๖,๘ ตำบลโคกชะงาย มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก(รวมไข้เด็งกี่) จากรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาในรอบ ๕ ปีที่ผ่านมา มีผู้ป่วยไข้เลือดออกในพื้นที่ -ปี ๒๕๕๕ จำนวน ๒ ราย อัตราป่วย๖๙.๘๓ต่อ แสนประชากร -ปี ๒๕๕๖ จำนวน ๑ ราย อัตราป่วย๓๔.๙๑ต่อ แสนประชากร -ปี ๒๕๕๗ จำนวน ๑ ราย อัตราป่วย๓๓.๓๓ต่อ แสนประชากร -ปี ๒๕๕๘ จำนวน ๑ ราย อัตราป่วย ๓๒.๙๑ ต่อ แสนประชากร -ปี ๒๕๕๙ จำนวน 14 ราย อัตราป่วย 341.63 ต่อ แสนประชากร แนวโน้มมีผู้ป่วยทุกปี ไม่มีผู้ป่วยเสียชีวิต พื้นที่เกิดโรคคือ ขณะนี้ยังมีผู้ป่วยรายใหม่ในพื้นที่ตำบลใกล้เคียง ซึ่งต้องมีการเฝ้าระวังควบคุมป้องกันโรคอย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ไข้เลือดออก มีพาหะนำโรค คือ ยุงลาย ฉะนั้นหลักการควบคุมโรคที่สำคัญ การป้องกันล่วงหน้า โดยการทำลายหรือควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายอย่างต่อเนื่องทุกสัปดาห์ และครอบคลุมทุกพื้นที่ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในชุมชนหนาแน่น โรงเรียน และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก แหล่งเพาะพันธุ์ยุงลายมักพบภายในบ้านหรือบริเวณบ้าน และเป็นภาชนะที่มีน้ำขังได้ เช่น อ่างน้ำ โอ่งน้ำ แจกัน ยางรถยนต์ จานรองขาตู้กับข้าวฯลฯ ซึ่งการควบคุมแหล่งเพาะพันธุ์ ต้องอาศัยความร่วมมือจากประชาชนทั่วไป องค์กรท้องถิ่น ส่วนราชการในท้องถิ่น ในการรณรงค์ให้มีการกำจัดลูกน้ำยุงลายทุกสัปดาห์ และให้มีการนำข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังฯ เพื่อค้นหาพื้นที่เสี่ยงการเกิดโรค จัดทำแผนปฏิบัติการ ควบคุมกำกับและประเมินผลการดำเนินการควบคุมโรค ดังนั้น เพื่อให้การป้องกันโรคล่วงหน้าและการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคให้สงบโดยเร็ว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายจึงจัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ปี ๒๕60เพื่อลดอุบัติการณ์และความรุนแรงจากปัญหาโรคไข้เลือดออกต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน
  2. เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย
  3. ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. ประชาชนในเขตรับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายเกิดความตระหนักและมีส่วนร่วมในการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ลูกน้ำยุงลาย ทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชน ๒. ความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้านของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ลดต่ำลงกว่าป้าหมายที่กำหนด ๓. อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลายในพื้นที่รับผิดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ลดลงต่ำกว่าเป้าหมายที่กำหนด


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    ๑.อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก  ไม่เกิน  ๕๐ ต่อแสนประชากร  ผลงาน 264.25 ต่อแสนประชากร ๒.อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก  ไม่ให้เกิน  ๑๐  ผลงาน  ไม่มีผู้ป่วยตาย ๓.อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในวัด โรงเรียน และสถานที่ราชการ(CI) ให้เท่ากับ 0 ผลงาน  CI  วัด โรงเรียน และสถานที่ราชการเท่ากับ 0 ๔.อัตราความชุกของลูกน้ำยุงลายในหมู่บ้าน (HI) น้อยกว่า ๑๐ ผลงาน หมู่บ้านที่มีค่า (HI) น้อยกว่า ๑๐มี ๖ หมู่บ้าน  เรียงตามลำดับน้อยไปมาก  ได้แก่ ๕,๖,๓,๔,๒ และ ๘ ๕.ประชาชนมีส่วนร่วมการประกวดหมู่บ้านปลอดลูกน้ำยุงลาย  ผลงาน  ทุกหลังคาเรือน ร้อยละ ๑๐๐

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน
    ตัวชี้วัด : ชุมชนได้รับการสำรวจและควบคุมค่าความชุกของลูกน้ำยุงลาย (HI) ไม่เกิน 10

     

    2 เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย
    ตัวชี้วัด : ชุมชน,สถานที่ราชการได้รับการควบคุมโรคไม่ให้เกิดโรคในระยะที่ 2 (Generation ที่ 2)

     

    3 ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร
    ตัวชี้วัด : อัตราการป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลงไม่เกิน 50/แสนประชากร

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 1000
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 1,000
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชน มีส่วนร่วมในการกำจัดลูกน้ำยุงลาย และแหล่งเพาะพันธ์ยุงลายทั้งในบ้านเรือนและชุมชน (2) เพื่อเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพการป้องกันโรคไข้เลือดออก/ไข้ปวดข้อยุงลาย (3) ลดอัตราป่วยหรือไม่มีผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2650-L3351-02-05

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางอุไรพงค์จันทรเสถียร )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด