โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางพัชรีเรืองศรี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย
กรกฎาคม 2560
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะสุขภาพและการพัฒนาการเด็กเป็นสิ่งสำคัญที่สะท้อนให้เห็นศักยภาพของคนไทยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา โดยเริ่มตั้งแต่ตั้งครรภ์ มารดาต้องมีความพร้อมและมีภาวะสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจเพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เพราะภาวะการขาดสารอาหารของมารดาจะมีผลต่อพัฒนาการและสติ ปัญญาของเด็กแรกเกิด จากการศึกษาพบว่าระดับสติปัญญาเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง ในปี พ.ศ.2540 เด็กไทยมีค่าเฉลี่ยระดับปัญญา 91 จุด และในปี 2545 เด็กไทยมีค่าเฉลี่ยระดับปัญญา 88 จุด ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ( ค่าปกติ 90-110) นมแม่มีความสำคัญต่อทารกเพราะนอกจากจะให้สารอาหารที่ครบถ้วน สร้างภูมิต้านทานสติปัญญาให้กับบุตรแล้ว ยังสร้างความรักความอบอุ่นให้กับบุตรด้วย ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ นอกจากทำให้มารดาและทารกแรกคลอดมีอัตราการตายและเกิดภาวะแทรกซ้อนสูงกว่าปกติ เช่นภาวการณ์คลอดก่อนกำหนด การแท้ง ทารกตายในครรภ์ ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์แล้ว ยังมีผลทำให้น้ำนมไม่เพียงพอต่อเด็กแรกคลอด จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ปี 255๙ หญิงตั้งครรภ์จำนวน๓๑ คนพบว่ามีภาวะความเข้มข้นของเลือดค่อนข้างต่ำ (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 3๕ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) จำนวน ๔ คน คิดเป็น ๑๒๙๐ % และมีภาวะความเข้มข้นของเลือดต่ำกว่าปกติ (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 33 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) จำนวน ๒ คน คิดเป็น .%ทารกแรกคลอดจำนวน ๓๑ คน มีน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม จำนวน ๑ คน คิดเป็น ๓.๒๒ % และมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว ๘๐.๖๐ %เนื่องจากมารดาและครอบครัวไม่มีความรู้ความเข้าใจและไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มารดาหลังคลอดจึงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในอัตราต่ำ ฉะนั้นนอกเหนือจากเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขแล้ว อสม.ในพื้นที่เป็นแกนนำที่สำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริม หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ครอบครัวและชุมชนให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
จากสถานการณ์ดังกล่าว และประกอบกับกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายเร่งด่วนในการพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้เป็นแกนนำ สายใยรักฯ กองทัพนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๖๐
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย
- เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว
- เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดรอด แม่ปลอดภัย มีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เด็กมีสติปัญญา และ
พัฒนาการที่สมวัย
๒. เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้น
๓. กิจกรรมการอนามัยมารดาและทารกสามารถดำเนินการได้บรรลุตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ผู้ปกครองเด็ก ๐ – ๖ ปี และ อสม. มีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จำนวน ๑๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ จากแบบทดสอบก่อนหลังอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ๑๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐
๒. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ ๔๕
๓. กิจกรรมการอนามัยมารดาและทารกสามารถดำเนินการได้ผ่านเกณฑ์ดังนี้
กิจกรรม จำนวน ( คน ) ร้อยละ หมายเหตุ
จำนวนหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบ 2๓
มารดาที่คลอดตั้งแต่เดือน ต.ค. ๕๙ - ก.ย. ๖๐
- ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ ๕ครั้ง
- ได้รับการดูแลหลังคลอดครบ ๓ครั้ง
- ทำคลอดโดยบุคลากรทางสาธารณสุข 2๓
2๓
2๓
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
จำนวนทารกเกิดมีชีพในปีนี้
จำนวนทารกเกิดไร้ชีพ
- ดูแลหลังคลอดครบ ๓ครั้ง
- น้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐กรัม
- น้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐กรัม 2๓
๐
๒๓
๐
2๓
๑๐๐
0
100
- จัดตั้งมุมพัฒนาการสำหรับเด็ก ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และจัดคลินิกตรวจพัฒนาการทุกวันที่ ๑๕ ของเดือน
- ติดตามพัฒนาการครบทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย
ตัวชี้วัด : 1. อัตราเด็กเกิดไร้ชีพเป็น ๐
2. น้ำหนักแรกคลอดไม่ต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม
2
เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว
ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว
3
เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน
ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
150
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
150
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย (2) เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว (3) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางพัชรีเรืองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 ”
ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางพัชรีเรืองศรี
กรกฎาคม 2560
ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2560 ถึง 31 กรกฎาคม 2560
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2560 - 31 กรกฎาคม 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะสุขภาพและการพัฒนาการเด็กเป็นสิ่งสำคัญที่สะท้อนให้เห็นศักยภาพของคนไทยทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา โดยเริ่มตั้งแต่ตั้งครรภ์ มารดาต้องมีความพร้อมและมีภาวะสุขภาพสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจเพื่อให้เด็กได้รับสารอาหารทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ เพราะภาวะการขาดสารอาหารของมารดาจะมีผลต่อพัฒนาการและสติ ปัญญาของเด็กแรกเกิด จากการศึกษาพบว่าระดับสติปัญญาเด็กไทยมีแนวโน้มลดลง ในปี พ.ศ.2540 เด็กไทยมีค่าเฉลี่ยระดับปัญญา 91 จุด และในปี 2545 เด็กไทยมีค่าเฉลี่ยระดับปัญญา 88 จุด ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ( ค่าปกติ 90-110) นมแม่มีความสำคัญต่อทารกเพราะนอกจากจะให้สารอาหารที่ครบถ้วน สร้างภูมิต้านทานสติปัญญาให้กับบุตรแล้ว ยังสร้างความรักความอบอุ่นให้กับบุตรด้วย ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงตั้งครรภ์ นอกจากทำให้มารดาและทารกแรกคลอดมีอัตราการตายและเกิดภาวะแทรกซ้อนสูงกว่าปกติ เช่นภาวการณ์คลอดก่อนกำหนด การแท้ง ทารกตายในครรภ์ ความดันโลหิตสูงในระยะตั้งครรภ์แล้ว ยังมีผลทำให้น้ำนมไม่เพียงพอต่อเด็กแรกคลอด จากข้อมูลงานอนามัยแม่และเด็กของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย ปี 255๙ หญิงตั้งครรภ์จำนวน๓๑ คนพบว่ามีภาวะความเข้มข้นของเลือดค่อนข้างต่ำ (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 3๕ มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) จำนวน ๔ คน คิดเป็น ๑๒๙๐ % และมีภาวะความเข้มข้นของเลือดต่ำกว่าปกติ (ความเข้มข้นเลือดน้อยกว่า 33 มิลลิกรัมเปอร์เซ็นต์) จำนวน ๒ คน คิดเป็น .%ทารกแรกคลอดจำนวน ๓๑ คน มีน้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐ กรัม จำนวน ๑ คน คิดเป็น ๓.๒๒ % และมารดาเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพียงอย่างเดียว ๘๐.๖๐ %เนื่องจากมารดาและครอบครัวไม่มีความรู้ความเข้าใจและไม่เห็นความสำคัญของการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ มารดาหลังคลอดจึงเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในอัตราต่ำ ฉะนั้นนอกเหนือจากเจ้าหน้าที่ด้านสาธารณสุขแล้ว อสม.ในพื้นที่เป็นแกนนำที่สำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อส่งเสริม หญิงตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ครอบครัวและชุมชนให้มีความตระหนักและเห็นความสำคัญในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ จากสถานการณ์ดังกล่าว และประกอบกับกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายเร่งด่วนในการพัฒนาศักยภาพ อสม.ให้เป็นแกนนำ สายใยรักฯ กองทัพนมแม่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงาย จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ปี ๒๕๖๐
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย
- เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว
- เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
เกิดรอด แม่ปลอดภัย มีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงทั้งด้านร่างกายและจิตใจ เด็กมีสติปัญญา และ พัฒนาการที่สมวัย ๒. เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เห็นความสำคัญต่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนเพิ่มขึ้น ๓. กิจกรรมการอนามัยมารดาและทารกสามารถดำเนินการได้บรรลุตามเกณฑ์
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
๑. อบรมให้ความรู้แก่หญิงตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอด ผู้ปกครองเด็ก ๐ – ๖ ปี และ อสม. มีความรู้และทักษะในการส่งเสริมสนับสนุนการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่จำนวน ๑๕๐ คน คิดเป็น ร้อยละ ๑๐๐ จากแบบทดสอบก่อนหลังอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น ๑๕๐ คน คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ ๒. อัตราการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 6 เดือนร้อยละ ๔๕ ๓. กิจกรรมการอนามัยมารดาและทารกสามารถดำเนินการได้ผ่านเกณฑ์ดังนี้
กิจกรรม จำนวน ( คน ) ร้อยละ หมายเหตุ
จำนวนหญิงมีครรภ์ในเขตรับผิดชอบ 2๓
มารดาที่คลอดตั้งแต่เดือน ต.ค. ๕๙ - ก.ย. ๖๐
- ได้รับการดูแลก่อนคลอดครบ ๕ครั้ง
- ได้รับการดูแลหลังคลอดครบ ๓ครั้ง
- ทำคลอดโดยบุคลากรทางสาธารณสุข 2๓
2๓
2๓
๑๐๐
๑๐๐
๑๐๐
จำนวนทารกเกิดมีชีพในปีนี้
จำนวนทารกเกิดไร้ชีพ
- ดูแลหลังคลอดครบ ๓ครั้ง
- น้ำหนักน้อยกว่า ๒,๕๐๐กรัม
- น้ำหนักมากกว่า ๒,๕๐๐กรัม 2๓
๐
๒๓
๐
2๓
๑๐๐ 0 100
- จัดตั้งมุมพัฒนาการสำหรับเด็ก ในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และจัดคลินิกตรวจพัฒนาการทุกวันที่ ๑๕ ของเดือน
- ติดตามพัฒนาการครบทุกราย
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย ตัวชี้วัด : 1. อัตราเด็กเกิดไร้ชีพเป็น ๐ 2. น้ำหนักแรกคลอดไม่ต่ำกว่า ๒,๕๐๐ กรัม |
|
|||
2 | เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน ตัวชี้วัด : มารดาหลังคลอดเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ไม่ต่ำกว่าร้อยละ ๖๐ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 150 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 150 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัยลูกมีภาวะสมบูรณ์แข็งแรงและมีพัฒนาการที่สมวัย (2) เพื่อให้ชุมชนและทุกคนในครอบครัวมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลหญิงตั้งครรภ์เสริมสร้างสัมพันธภาพที่ดีเกิดสายใยรักครอบครัว (3) เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่เพื่อพัฒนางานอนามัยแม่และเด็กทั้งหน่วยงานและชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็กปี 2560 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 2560-L3351-01-07
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางพัชรีเรืองศรี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......