กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย


“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560 ”

ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางพัชรีเรืองศรี

ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560

ที่อยู่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 2560-L3351-01-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 27 เมษายน 2560 ถึง 28 เมษายน 2560


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกชะงาย อำเภอเมืองพัทลุง จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 2560-L3351-01-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 27 เมษายน 2560 - 28 เมษายน 2560 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 2,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกชะงาย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในเพศหญิง พบได้ในสตรีตั้งแต่วัยสาวจนถึงวัยชรา พบมากในช่วงอายุ ๓๐-๕๐ ปีในแต่ละปีผู้หญิงทั่วโลกป่วยด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกเพิ่มขึ้นปีละ ๔๖๖,๐๐๐ คน เสียชีวิตปีละ ๒๓๑,๐๐๐ คน ซึ่งประมาณร้อยละ ๘๐ ของผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูก อยู่ในประเทศกำลังพัฒนา สำหรับประเทศไทย โรคมะเร็งปากมดลูกเป็นสาเหตุการเสียชีวิตมากที่สุดของโรคมะเร็งทั้งหมด จากรายงานของสำนักงานวิจัยมะเร็งนานาชาติพบว่า ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ ประเทศไทยมีผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกรายใหม่ปีละ ๖,๑๙๒ ราย เสียชีวิต ๓,๑๖๖ ราย หรือประมาณร้อยละ ๕๐ คิดคำนวณแล้วสตรีไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกวันละเกือบ ๙ คนมะเร็งปากมดลูกพบมากที่สุดในภาคเหนือของประเทศไทย อย่างไรก็ตามในปัจจุบันอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง เนื่องจากมีการตรวจวินิจฉัยค้นหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear เพื่อให้การรักษาความผิดปกติเพิ่มมากขึ้น ทำให้มะเร็งปากมดลูกในระยะรุนแรงลดลง ซึ่งจากการศึกษาขององค์กรวิจัยโรคมะเร็งนานาชาติ(IARC) พบว่า การที่จะลดอัตราการเกิดโรคมะเร็งนั้น ถ้าสามารถตรวจให้ครอบคลุมประชากรได้จำนวนมากเท่าไร จะลดอัตราการตายได้ดีกว่าความถี่ของการที่สตรีไปรับการตรวจ กล่าวคือ ถ้าสามารถทำการตรวจค้นหามะเร็งปากมดลูกให้ได้ครอบคลุมจำนวนประชากรร้อยละ ๘๐ โดยการทำ Pap Smear ทุกปี จะลดอัตราการตายจากมะเร็งปากมดลูกได้ ๖๑% และหากทำการตรวจทุก ๓ ปี จะลดลงได้ ๖๑% หรือถ้าทำการตรวจทุก ๕ ปี จะสามารถลดลงได้ ๕๕%ซึ่งในทางกลับกันแม้ว่า จะทำการตรวจได้ครอบคลุมประชากร ๓๐%และสามารถตรวจให้สตรีได้ทุกๆปีก็ตาม กลับสามารถลดอัตราการตายจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้เพียง ๑๕% เท่านั้น ดังนั้น การที่จะให้สตรีได้รับการทำ Pap Smear ได้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายให้มากที่สุด จึงเป็นการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกเชิงรุกที่เหมาะสม เพื่อตอบสนองนโยบายกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดให้ทุกพื้นที่ดำเนินงานตามโครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี เป้าหมายร้อยละ ๒๐ ต่อปี และครอบคลุมร้อยเปอร์เซ็นต์ในระยะเวลา ๕ ปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านโคกชะงายจึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกขึ้นเพื่อให้ความรู้ สร้างความตระหนัก และเพื่อให้บริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายค้นหาโรคในระยะเริ่มแรก อย่างมีประสิทธิภาพสามารถมีโอกาสรักษาให้หายขาดได้ซึ่งจะช่วยลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งปากมดลูกได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear
  2. เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear และเพื่อให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานทันท่วงที

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    ๑. สตรีอายุ ๓๐ - ๖๐ ปี มีความรู้ ความเข้าใจเรื่องมะเร็งปากมดลูกและสามารถดูแลสุขภาพตนเองด้วยการตรวจ Pap Smear ครอบคลุมตามเป้าหมาย ๒. สามารถค้นหาผู้ป่วยมะเร็งปากมดลูกในระยะแรกและส่งตัวเข้ารับการรักษาอย่างรวดเร็วถูกต้องได้มาตรฐาน ๓. อัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีกลุ่มเป้าหมายลดลง


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

    มีการดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้และมีการติดตามนิเทศตามแผนเป็นระยะๆและมีผลการดำเนินงานดังนี้ - อบรมกลุ่มเป้าหมาย  ๑๐๐  คน ร้อยละ  ๙๐ มีความรู้ความเข้าใจเพิ่มขึ้นจากการซักถาม
    - กลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีทำ Pap Smear จำนวน ๒๗๑ คน
    คิดเป็นร้อยละ ๕๒.๕๒  ของกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด (๕๑๖) ซึ่งยังบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้
    - จากการตรวจคัดกรองไม่พบผู้ที่มีความผิดปกติ
    - ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนทางวิทยุชุมชน ๙๕.๒๕ เป็นประจำเดือนละครั้ง

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ๘๐ ของผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear

     

    2 เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear และเพื่อให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานทันท่วงที
    ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกทุกรายได้รับการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear และได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐาน

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 100
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปี มีความรู้เรื่องมะเร็งปากมดลูกและตระหนักถึงการดูแลสุขภาพของตนเองด้วยการตรวจหามะเร็งปากมดลูกโดยการทำ Pap Smear (2) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกระยะแรกโดยการตรวจคัดกรองทำ Pap Smear และเพื่อให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้องตามมาตรฐานทันท่วงที

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการป้องกันและควบคุมโรคมะเร็งปากมดลูกปี 2560 จังหวัด พัทลุง

    รหัสโครงการ 2560-L3351-01-19

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางพัชรีเรืองศรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด