กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง


“ โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562 ”

ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

หัวหน้าโครงการ
นางสาวทัศนีย์ เหะหมัด

ชื่อโครงการ โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562

ที่อยู่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5306-2-03 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2562 ถึง 30 กันยายน 2562


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตำมะลัง อำเภอเมืองสตูล จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 62-L5306-2-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2562 - 30 กันยายน 2562 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,385.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตำมะลัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทำให้คนในชุมชนต้องเผชิญกับปัญหาในการปรับตัวเพื่อให้สอดคล้องกับสังคมในปัจจุบัน ทั้งในด้านความคิด ความเข้าใจ และค่านิยมต่างๆ ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด ความขับข้องใจแยกตัวออกจากสังคม ขาดสัมพันธภาพกับสมาชิกในครอบครัวท้อแท้และเบื่อหน่ายในชีวิต ประกอบกับที่ต้องเผชิญกับรูปแบบการดำเนินชีวิตแบบใหม่ ต้องออกจากงาน มีรายได้ลดลง ภาวะสุขภาพเสื่อมลงมีโรคทางกายเพิ่มมากขึ้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อจิตใจคนในชุมชนทั้งสิ้น และหากคนในชุมชนไม่ได้รับการดูแลเอาใจใส่จากบุคคลใกล้ชิดด้วยแล้วจะยิ่งส่งเสริมให้คนในชุมชนมีภาวะซึมเศร้าและความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง  ลดลงจนเกิดความรู้สึกสิ้นหวัง แยกตัวออกจากสังคมเป็นผลให้เกิดความผิดปกติทางจิตใจที่รุนแรงและอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ เมื่อคนสุขภาพจิตไม่ดีเมื่อเผชิญปัญหาในชีวิต จะเกิดอาการต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นทางจิตใจ อารมณ์ แสดงพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาตอบสนองทางร่างกายที่แสดงภาวะไม่สมดุล เช่น หากเป็นอาการทางกายเมื่อเกิดความเครียด ประสาทอัตโนมัติภายในร่างกายถูกเร้าให้ทำงานเพิ่มขึ้น อวัยวะภายในซึ่งถูกกำกับโดยประสาทอัตโนมัติถูกกระตุ้นให้ทำงานมากขึ้น ได้แก่ หัวใจเต้นผิดจังหวะ หลอดเลือดหดตัวจนเกิดความดันโลหิตสูง ปอด หลอดลมจะตีบหายใจลำบาก กระเพาะอาหารหลั่งกรดจำนวนทำให้เกิดแผล ลำไส้บีบตัวจนท้องเสีย หรือคลื่นไส้อาเจียน กล้ามเนื้อร่างกายเกิดการสั่นเกร็ง กระตุก จนปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คอ และเอวด้านหลัง ต่อมเหงื่อทำงานหนัก ถ้าเป็นบ่อยๆ ก็จะก่อให้เกิดโรคถาวร นอกจากนี้ ความเครียดทำให้จิตใจเกิดความรู้สึกวิตกกังวล ไม่สบายใจ บางคนมีอารมณ์ซึมเศร้า ท้อแท้ร่วมด้วย เบื่อ หงุดหงิด ไม่สนุกสนานสดชื่นร่าเริงเหมือนเดิม และทำให้เกิดอาการอื่นๆ ตามมา ได้แก่ เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ เพลีย เหนื่อยง่าย เหนื่อยหน่าย ความเครียดถ้ามีมากและต่อเนื่องจะทำให้สมองมึน งง เบลอ ขาดสมาธิ ความคิดความอ่านและความจำลดลง การตัดสินใจช้า ไม่แน่นอน ไม่มั่นใจตนเอง ซึ่งทั้งหมดส่งผลต่อเนื่องไปยังการมีอาการทางจิต และความคิดมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอารมณ์ เช่น มองโลกในแง่ร้าย ความคิดกังวลล่วงหน้า ย้ำคิดย้ำทำ ส่วนสาเหตุสำคัญที่ทำให้คนไทยป่วย ด้านสุขภาพจิตมากขึ้นนั้น ต้นเหตุของการเกิดโรคนั้นมีหลายสาเหตุ หนึ่งในนั้นคือการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของสังคม ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม ตลอดจนการสื่อสารที่ไร้พรมแดน ทำให้นำไปสู่ปัญหาทางสังคม ที่ส่งผลต่อสุขภาพจิต เช่น การหย่าร้าง ปัญหาเด็กและผู้สูงอายุถูกทอดทิ้ง ปัญหาแม่วัยใส ปัญหาอาชญากรรม และยาเสพติด ปัญหาก่อการร้าย ปัญหาการฆ่าตัวตายและฆ่าผู้อื่น ฯลฯ "สุขภาพจิตของตัวเองถือเป็นเรื่องที่สำคัญ เพราะเราจะต้องดูแลตัวเองให้ดีก่อนจึงแบ่งปันสู่คนอื่นได้ การรู้จักปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงอย่างเหมาะสม รวมถึงต้องสามารถเผชิญกับปัญหาและความจริงของชีวิตได้ดี มีภูมิคุ้มกัน เมื่อนั้นเราก็จะมีสุขภาพจิตที่ดี" ดังนั้นทางคณะกรรมการสตรีตำบลตำมะลัง จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมป้องกันให้กลุ่มสตรีในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพจิตของตนเองได้ ในเบื้องต้น จึงได้จัด “โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน” เพื่อเป็นประโยชน์สุขของประชาชนในการเห็นความสำคัญถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้องและถูกวิธี

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1.สตรีในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพกายและจิตของตนเองได้
  2. 2.สตรีในชุมชนได้ผ่อนคลายความเครียดเพื่อห่างไกลโรคจากต่างๆ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้เรื่อง “สตรียุค ๔.๐ คลายเครียดกับสังคมปัจจุบัน”

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑.สตรีในชุมชนมีความสามัคคี / มีความเข้มแข็งมากขึ้น ๒.สตรีในชุมชนมีความดูแลสุขภาพกายและจิตมากขึ้น ๓.สตรีในชุมชนได้คลายเครียดและห่างไกลจากโรคต่างๆ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1.สตรีในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพกายและจิตของตนเองได้
ตัวชี้วัด : 1.แบบประเมินความเครียด (ST5) 2.แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ประเมิน จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ประเมินในวันที่จัดกิจกรรมอบรม ครั้งที่ 2 ประเมินติดตามครั้งที่ 1 หลังจากวันอบรม 3 เดือน ครั้งที่ 3 ประเมินติดตามครั้งที่ 2 หลังจากการประเมินติดตามครั้งที่ 1 3 เดือน
50.00

 

2 2.สตรีในชุมชนได้ผ่อนคลายความเครียดเพื่อห่างไกลโรคจากต่างๆ
ตัวชี้วัด : 1.แบบประเมินความเครียด (ST5) 2.แบบคัดกรองโรคซึมเศร้า 2 คำถาม (2Q) ประเมิน จำนวน 3 ครั้ง ครั้งที่ 1 ประเมินในวันที่จัดกิจกรรมอบรม ครั้งที่ 2 ประเมินติดตามครั้งที่ 1 หลังจากวันอบรม 3 เดือน ครั้งที่ 3 ประเมินติดตามครั้งที่ 2 หลังจากการประเมินติดตามครั้งที่ 1 3 เดือน
50.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.สตรีในชุมชนสามารถดูแลสุขภาพกายและจิตของตนเองได้ (2) 2.สตรีในชุมชนได้ผ่อนคลายความเครียดเพื่อห่างไกลโรคจากต่างๆ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้เรื่อง “สตรียุค ๔.๐ คลายเครียดกับสังคมปัจจุบัน”

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรีตำมะลังสุขภาพจิตดีคลายความเครียดกับสภาพสังคมปัจจุบัน ประจำปีงบประมาณ 2562 จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ 62-L5306-2-03

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวทัศนีย์ เหะหมัด )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด